Page 2 - การสำรวจจัดทำสำมะโนที่ดินเพื่อการพัฒนาที่ดินในโครงการปลูกไม้ยืนต้นทนเค็มเพื่อป้องกันการกระจายดินเค็ม 2564 ตำบลเหนือ อำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์
P. 2

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน


                                                                                                            ก



                                                      บทสรุปสําหรับผูบริหาร

                              การดําเนินงานในโครงการสํารวจจัดทําสํามะโนที่ดินเพื่อการพัฒนาที่ดินป งบประมาณ

                       พ.ศ. 2564 ในแผนการใชที่ดินระดับตําบล มีวัตถุประสงค เพื่อสํารวจภาวการณถือครองที่ดิน
                       ของเกษตรกรอยางละเอียด ซึ่งผลของการดําเนินงานทําใหไดขอมูลที่อยูในรูปของแผนที่เชิงเลข
                       และสารสนเทศภูมิศาสตร ประกอบดวยรายชื่อผูถือครองที่ดิน และการใชประโยชนที่ดินรายแปลง
                       ตลอดจนกิจกรรมตาง ๆ ที่เกิดขึ้นดานการเกษตรที่เกษตรกรไดกระทําในพื้นที่ เชน แหลงน้ําที่ใช

                       ดานการเกษตร ปญหาในการทํางานดานการเกษตร ขนาดของแปลงที่ดินของเกษตรกร ฯลฯ ทั้งนี้
                       โดยใชฐานขอมูลแปลงที่ดินเชิงเลขจากกรมที่ดิน สํานักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ตลอดจน
                       ขอมูลแผนที่กระดาษ หลักฐานการเสียภาษีของเกษตรกรที่องคการบริหารสวนตําบล และหนวยงานอื่น ๆ
                       ที่เกี่ยวของ ที่ถูกรวบรวม และปรับใหอยูในระบบแผนที่เชิงเลข

                              สําหรับการปฏิบัติงานในพื้นที่ เจาหนาที่จะทําการประสานงานกับผูนําชุมชนในแตละหมูบาน
                       เพื่อประชาสัมพันธการเขาปฏิบัติงาน รวมถึงการเชิญชวนใหเกษตรกรนําหลักฐานเกี่ยวกับแปลงที่ดิน
                       ของตนเอง เขามาใหขอมูลดวยวิธีการสัมภาษณจากแบบสอบถาม และชี้แปลงที่ดินบนแผนที่ภาพถายที่ได

                       เตรียมมาจากสํานักงาน เพื่อเปนขอมูลใชวิเคราะหจัดทํารูปเลมรายงานเสนอกรมฯ และหนวยงานตาง ๆ
                       ในพื้นที่ตอไป
                              ผลของการดําเนินงานในพื้นที่ตําบลตําบลเหนือ อําเภอเมืองกาฬสินธุ จังหวัดกาฬสินธุเนื้อที่
                       18,433 ไร ครอบคลุมพื้นที่ 12 หมูบาน มีพื้นที่ทางการเกษตร รอยละ ๘๘.๘๖ และเปนพื้นที่
                       นอกการเกษตร เชน ที่อยูอาศัย สถานที่ราชการ วัด โรงเรียน เปนตน รอยละ ๑๑.๑๔ มีเกษตรกร

                       เปนเจาของที่ดินทําการเกษตรเอง รอยละ 69.33 ญาติ/เขาทําเปลา รอยละ 21.80 และผูเชา รอยละ 7.27
                       โดยหลักฐานการถือครองที่ดินสวนใหญเปนเอกสารสิทธิประเภทโฉนดที่ดินมากที่สุด รอยละ 9๓.๐๒
                       รองลงมาเปน สปก. ๔-๐๑ รอยละ ๖.๙๘ สําหรับขนาดของสัดสวนแปลงที่ดิน สวนใหญอยูในชวง 1-5 ไร

                       รอยละ 50.87 รองลงมาแปลงที่ดินมีขนาด 5–10 ไร รอยละ 33.14 และแปลงที่ดินที่มีขนาด 10-20 ไร
                       รอยละ 10.17
                              ดานการใชประโยชนที่ดิน (ระดับ 3 ของกรมพัฒนาที่ดิน) พบวา เกษตรกรทํานามากที่สุด

                       รอยละ 86.05 รองลงมา คือ มันสําปะหลัง รอยละ 9.74 และยางพารา รอยละ 1.74 การใชแหลงน้ํา
                       เพื่อการเกษตร เกษตรกรใชแหลงน้ําจากชลประทานเปนหลัก รอยละ 79.51 ใชน้ําฝนอยางเดียว

                       รอยละ ๒๖.๑๖ และใชจากแหลงน้ําสาธารณะ รอยละ ๕.๐๙ ปญหาที่สงผลกระทบตอผลผลิต
                       ทางการเกษตรของเกษตรกร อันดับแรก ไดแก ราคาผลผลิตตกต่ํา รอยละ 75.73 รองลงมาเปนตนทุน

                       การผลิตสูงรอยละ 68.46 และโรคพืช/ศัตรูพืช รอยละ ๔๔.๑๙ การใชปุยพบวา เกษตรกรมีการใช

                       ปุยเคมี/ปุยอินทรียมากที่สุด รอยละ 49.42 รองลงมา คือ ปุยเคมี รอยละ 40.41 ปุยอินทรีย รอยละ 2.33
                       และไม่ใชปุย รอยละ 7.85 การใชสารเคมี พบวา เกษตรกรมีการใชสารเคมีปราบศัตรูพืช รอยละ 70.06

                       และไมใชสารเคมีปราบศัตรูพืช รอยละ 29.94 ปญหาดานดินที่พบในพื้นที่มากที่สุด 3 อันดับแรก ไดแก

                       ดินขาดความอุดมสมบูรณ์ รอยละ 55.52 รองลงมาเปนปญหาดินทราย รอยละ 20.78 และปญหาดินเค็ม

                       รอยละ 12.35
   1   2   3   4   5   6   7