Page 15 - การสำรวจจัดทำสำมะโนที่ดินเพื่อการพัฒนาที่ดินในโครงการปลูกไม้ยืนต้นทนเค็มเพื่อป้องกันการกระจายดินเค็ม 2564 ตำบลเหนือ อำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์
P. 15

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                             ๕


                       ๒.๓ ลักษณะภูมิอากาศ

                              ลักษณะภูมิอากาศ ลักษณะภูมิอากาศของจังหวัดกาฬสินธุขึ้นอยูกับอิทธิพลของมรสุมที่พัดประจํา
                       ฤดูกาล 2 ชนิด คือ มรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งพัดพามวลอากาศเย็นและแหงจากประเทศจีนเขาปกคลุม

                       ประเทศไทยตั้งแตประมาณ กลางเดือนตุลาคมถึงประมาณเดือนกุมภาพันธ ซึ่งอยูในชวงฤดูหนาว
                       ของประเทศไทย ทําใหจังหวัดกาฬสินธุมี อากาศหนาวเย็นและแหงทั่วไป และมรสุมตะวันตกเฉียงใต
                       ที่พัดพามวลอากาศชื้นจากทะเลและมหาสมุทรเขา ปกคลุมประเทศไทยในชวงฤดูฝน (ประมาณกลางเดือน

                       พฤษภาคมถึงประมาณกลางเดือนตุลาคม) ทําใหมีฝนตกชุกทั่วไป ฤดูกาลของจังหวัดกาฬสินธุพิจารณา
                       ตามลักษณะของลมฟาอากาศของประเทศไทยสามารถแบงออกได เปน 3 ฤดู ดังนี้
                              ฤดูหนาว เริ่มตนประมาณกลางเดือนตุลาคมถึงประมาณกลางเดือนกุมภาพันธ ซึ่งเปนชวงที่มรสุม
                       ตะวันออกเฉียงเหนือพัดปกคลุมประเทศไทยและบริเวณความกดอากาศสูงจากประเทศจีนซึ่งเปนมวล
                       อากาศเย็นจะแผลง ปกคลุมประเทศไทยในชวงดังกลาว ทําใหจังหวัดกาฬสินธุมีอากาศหนาวเย็นและแหง

                       ทั่วไป เดือนที่มีอากาศหนาว มากที่สุดจะอยูในชวงเดือนธันวาคมถึงมกราคม
                              ฤดูรอน เริ่มตนประมาณกลางเดือนกุมภาพันธถึงกลางเดือนพฤษภาคม ซึ่งเปนชวงวางของฤดูมรสุม
                       โดยมีลมทิศใตและลมตะวันออกเฉียงใตพัดปกคลุม สงผลใหมีอากาศรอนอบอาวโดยทั่วไปโดยเฉพาะในชวง

                       เดือนมีนาคม เปนเดือนที่มีอากาศรอนอบอาวที่สุดของป
                              ฤดูฝน เริ่มตนประมาณกลางเดือนพฤษภาคมถึงกลางเดือนตุลาคม เปนชวงที่มรสุมตะวันตกเฉียงใต
                       พัดเอาความชื้นจากทะเลและมหาสมุทรมาปกคลุมประเทศไทย ประกอบกับในชวงเวลาดังกลาว
                       รองความกดอากาศต่ําที่พาด อยูบริเวณภาคใตของประเทศไทยจะเลื่อนขึ้นมาพาดผานบริเวณภาคเหนือ

                       และภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ทําใหอากาศเริ่มชุมชื้นและมีฝนตกชุกตั้งแตประมาณ
                       กลางเดือนพฤษภาคมเปนตนไป โดยเฉพาะเดือนกรกฎาคมเปนเดือนที่มีฝนตกชุกหนาแนนมากที่สุดในรอบป
                       แตอยางไรก็ตามนอกจากปจจัยดังกลาวที่ใหมีฝนตกชุก แลวยังขึ้นอยูกับอิทธิพลของพายุหมุนเขตรอน
                       ที่เคลื่อนตัวเขาใกลหรือเขาสูประเทศไทยในชวงดังกลาวดวย

                       2.4 เสนทางคมนาคม

                              เสนทางคมนาคมมีทางหลวงแผนดินหมายเลข 214 เชื่อมตอระหวางพื้นที่ดําเนินงาน
                       กับองคการบริหารสวนตําบลเหนือ ระยะทางประมาณ 10 กิโลเมตร นอกจากนั้นยังมี ทางหลวงชนบท
                       เชื่อมตอระหวางหมูบานและพื้นที่เกษตรของเกษตรกร รวมถึงถนนลาดยางอื่น ๆ กระจายทั่วทั้งพื้นที่

                       ดําเนินงาน
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20