Page 41 - การสำรวจจัดทำสำมะโนที่ดินเพื่อการพัฒนาที่ดินในโครงการปลูกไม้ยืนต้นทนเค็มเพื่อป้องกันการกระจายดินเค็ม 2564 เทศบาลตำบลบัวบาน อำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์
P. 41
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
31
4.11 ลักษณะปญหาดานดินเพื่อการเพาะปลูกในพื้นที่ดำเนินงาน
จากการสำรวจและวิเคราะหขอมูลแปลงที่ดินที่เกษตรกรมาใหขอมูลจำนวน 1,868 แปลง พบวา
เกษตรกรมีปญหามากที่สุด 3 อันดับแรก ไดแก ปญหาดินขาดความสมบูรณ จำนวน 832 แปลง คิดเปน
รอยละ 44.54 รองลงมาเปนปญหาดินเหนียว จำนวน 447 แปลง รอยละ 23.93 และดินทรายจัด
จำนวน 180 แปลง รอยละ 9.64 ตามลำดับ ดังแสดงในตารางที่ 4.12 แผนภูมิที่ 4.10 และ
รูปที่ 4.10
ตารางที่ 4.11 ลักษณะปญหาดานดินเพื่อการเพาะปลูกในพื้นที่ดำเนินงาน
ปญหาดิน จำนวน (แปลง) รอยละ
ดินขาดความสมบูรณ 832 44.54
ดินเหนียว 447 23.93
ดินทรายจัด 180 9.64
ดินเค็ม 54 2.89
ดินเปรี้ยว 12 0.64
ดินตื้น 3 0.16
อื่นๆ 251 13.44
ไมมีปญหา 89 4.76
หมายเหตุ : เกษตรกรตอบคำถามไดมากกวา 1 ขอ (N = 1,868)
21.65%
4.31%
8.72%
21.69% 2.62%
0.58%
40.28% 0.15%
ดินขาดความสมบูรณ อื่นๆ ดินเหนียว ดินทรายจัด
ไมมีปญหา ดินเค็ม ดินเปรี้ยว ดินตื้น
แผนภูมิที่ 4.10 ลักษณะปญหาดานดินเพื่อการเพาะปลูกในพื้นที่ดำเนินงาน