Page 37 - การศึกษาประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพสำหรับนาข้าวต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตข้าวสังข์หยด จังหวัดพัทลุง
P. 37

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                         27




                                                        สรุปผลการทดลอง



                            จากการศึกษาประสิทธิภาพของผลิตภัณฑปุยชีวภาพ สําหรับนาขาวตอการเจริญเติบโต และ
                       ผลผลิตขาวสังขหยด จังหวัดพัทลุง สามารถสรุปผลการทดลองไดดังนี้


                            1. การเปลี่ยนแปลงสมบัติทางเคมี พบวา ดินมีคาความเปนกรดเปนดางเพิ่มขึ้น ถึงแมจะไมแตกตาง

                       กันทางสถิติ  แตก็เพิ่มขึ้นจากเดิมอยูในชวงกรดจัด เปลี่ยนแปลงเปนกรดปานกลาง และกรดเล็กนอย (จาก
                       เดิม pH 4.8-5.0 เปน pH  5.27-6.30 )  เชนเดียวกันกับปริมาณอินทรียวัตถุในดินที่มีคาสูงขึ้น กอนการ

                       ทดลองทุกตํารับการทดลองมีคาอยูในชวงคอนขางต่ํา (1.11-1.32 เปอรเซ็นต)  หลังการทดลองในปที่ 3  มี

                       คาสูงขึ้น (1.25-1.75 เปอรเซ็นต) แตปริมาณอินทรียวัตถุก็ยังอยูในชวงคอนขางต่ําเหมือนเดิม และปริมาณ
                       ฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนในดินมีคาเพิ่มขึ้นในแตละป โดยกอนการทดลองทุกตํารับมีปริมาณฟอสฟอรัสที่

                       เปนประโยชนในดินอยูในชวงต่ํา (5.67-8.67 มิลลิกรัมตอกิโลกรัม)  หลังการทดลองมีคาสูงขึ้นอยูในชวง

                       ปานกลางถึงสูงมาก (13.00-182.33 มิลลิกรัมตอกิโลกรัม)   สําหรับโพแทสเซียมที่เปนประโยชนในดิน หลัง
                       การทดลองในแตละปจะมีคาลดลง แตไมมีความแตกตางกันทางสถิติ    โดยทั้งกอนและหลังการทดลอง

                       ปริมาณโพแทสเซียมที่เปนประโยชนในดินมีคาอยูในชวงต่ํามาก (15.33-27.33 มิลลิกรัมตอกิโลกรัม) ยกเวน
                       ตํารับการทดลองที่ 1 และ 5 ที่กอนการทดลองมีคาอยูในชวงต่ํา (30.00 และ 34.67 มิลลิกรัมตอกิโลกรัม)


                            2. การเจริญเติบโตดานความสูงของขาวพันธุสังขหยด ไมแตกตางกันทางสถิติ


                            3. ผลผลิตและองคประกอบผลผลิตของขาวมีคาไมแตกตางกันทั้ง 3 ป (ป 2561-2563)  ซึ่งในปที่ 1

                       และปที่2 ตํารับการทดลองที่ 2 ซึ่งใชปุยเคมีตามคาวิเคราะหดิน มีจํานวนผลผลิตมากที่สุด เทากับ 522.37
                       และ 496.07  กิโลกรัมตอไร ตามลําดับ สําหรับในปที่ 3 ตํารับควบคุม (ตํารับการทดลองที่ 1) มีจํานวน

                       ผลผลิตมากที่สุด เทากับ  449.73 กิโลกรัมตอไร สวนจํานวนตนตอกอ หลังการทดลองในปที่ 1 และปที่ 3

                       ไมมีความแตกตางกันทางสถิติ สวนในปที่ 2 จํานวนตนตอกอมีความแตกตางกัน โดยตํารับการทดลองที่ 2
                       การใชปุยเคมีตามคาวิเคราะหดินใหจํานวนตนตอกอสูงสุด 12.73 กอ แตใหคาจํานวนตนตอกอไมแตกตาง

                       จากตํารับการทดลองที่ 1 วิธีควบคุม (12.03 กอ) ตํารับการทดลองที่ 3 ปุยชีวภาพรูปแบบน้ํา (11.73 กอ)

                       และตํารับการทดลองที่ 7 ปุยชีวภาพรูปแบบผงรวมกับปุยเคมี 50 เปอรเซ็นต (11.00 กอ)
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42