Page 31 - การศึกษาประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพสำหรับนาข้าวต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตข้าวสังข์หยด จังหวัดพัทลุง
P. 31
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
21
4.5 ปริมาณธาตุอาหารในฟางขาว ป 2561-2563
4.5.1 ปริมาณไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียมในฟางขาว ป 2561 จากการ
ทดลอง พบวา ปริมาณโพแทสเซียมในฟางขาวมีความแตกตางกันทางสถิติอยางมีนัยสําคัญยิ่ง (ตาราง
ที่ 11) โดยตํารับการทดลองที่ 5 การใชปุยชีวภาพรูปแบบน้ํารวมกับปุยเคมี 70 เปอรเซ็นต ใหปริมาณ
โพแทสเซียมในฟางขาวมากที่สุด เทากับ 0.95 เปอรเซ็นต แตไมแตกตางจากตํารับการทดลองที่ 1 วิธี
ควบคุม ตํารับการทดลองที่ 2 การใชปุยตามคาวิเคราะหดิน ตํารับการทดลองที่ 3 การใชปุยชีวภาพ
รูปแบบน้ํา และตํารับการทดลองที่ 6 การใชปุยชีวภาพรูปแบบผง สวนปริมาณไนโตรเจน และ
ฟอสฟอรัสในฟางขาว ไมแตกตางกันทางสถิติ
ตารางที่ 11 ปริมาณไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียมในฟางขาว ป 2561
ปริมาณธาตุอาหารในฟางขาว (%)
ตํารับการทดลอง
ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม
T1 ควบคุม 0.63 0.11 0.93ab
T2 ปุยเคมีตามคาวิเคราะหดิน 0.67 0.12 0.94ab
T3 ปุยชีวภาพรูปแบบน้ํา 0.68 0.11 0.91ab
T4 ปุยชีวภาพรูปแบบน้ํา + ปุยเคมี 50 % 0.59 0.11 0.80c
T5 ปุยชีวภาพรูปแบบน้ํา + ปุยเคมี 70 % 0.62 0.11 0.95a
T6 ปุยชีวภาพรูปแบบผง 0.68 0.11 0.91ab
T7 ปุยชีวภาพรูปแบบผง + ปุยเคมี 50 % 0.68 0.11 0.86bc
T8 ปุยชีวภาพรูปแบบผง + ปุยเคมี 70 % 0.70 0.12 0.86bc
F-test ns ns **
C.V. (%) 9.63 0.00 4.99
คาเฉลี่ยตัวอักษรที่เหมือนกันแสดงวา ไมมีความแตกตางกันทางสถิติและเปรียบเทียบความ
แตกตางของคาเฉลี่ยที่ไดโดยวิธี DMRT, ** หมายถึง แตกตางอยางมีนัยสําคัญยิ่งที่ระดับความเชื่อมั่น
99 เปอรเซ็นต
ns หมายถึง ไมแตกตางกันทางสถิติ
4.5.2 ปริมาณไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียมในฟางขาว ป 2562 จากการทดลอง
พบวา ปริมาณไนโตรเจน ฟอสฟอรัสมีความแตกตางกันทางสถิติอยางมีนัยสําคัญ (ตารางที่ 12) โดย
ตํารับการทดลองที่ 8 การใชปุยชีวภาพรูปแบบผงรวมกับปุยเคมี 70 เปอรเซ็นต ทําใหมีปริมาณ
ฟอสฟอรัสในฟางขาวมากที่สุดเทากับ 0.16 เปอรเซ็นต แตปริมาณโพแทสเซียมในฟางขาวไมมีความ
แตกตางกัน