Page 35 - ผลของเถ้าไม้ยางพาราต่อความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหารพืชในดินกรดเพื่อการปลูกอ้อยคั้นน้ำ Effect of rubber wood ash to nutrient profitability in acids soil for juicing sugarcane.
P. 35

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                               30


                                                      สรุปผลการทดลอง


                         จากการทดลองเปนระยะเวลา  2  ป สรุปได ดังนี้
                         1.  การใชขี้เถาไมยางพารา ปรับปรุงดินกรด มีผลตอการเจริญเติบและการเพิ่มผลผลิตของออยคั้น
                  น้ํา  ทําใหสมบัติทางเคมีของดินหลังการทดลองเปลี่ยนแปลง  คาความเปนกรดเปนดางเพิ่มขึ้น ปริมาณ
                  อินทรียวัตถุมีคาลดลงเล็กนอย ปริมาณฟอสฟอรัส โพแทสเซียม และแคลเซียมมีคาเพิ่มขึ้น สวนปริมาณ

                  แมกนีเซียมมีการเปลี่ยนแปลงนอยมาก
                         2.  การปลูกออยคั้นน้ําพันธุสุพรรณบุรี 50 ในกลุมชุดดินที่ 6 ชุดดินพัทลุง พบวา วิธีการที่ 8 คือ
                  ใสเถาไมยางพารา อัตรา 1,500 กิโลกรัมตอไร   มีแนวโนมใหผลผลิตสูงที่สุด เทากับ 18.56 ตันตอไร  และให
                  ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจสูงสุด เทากับ 71,290.00 บาทตอไร รองลงมาเปนตํารับที่ 6 คือ ใสเถาไมยางพารา

                  อัตรา 1,200 กิโลกรัมตอไร  ใหผลผลิต 18.25 ตันตอไร  และใหผลตอบแทนทางเศรษฐกิจเทากับ 70,040 บาทตอ
                  ไร  สวนวิธีการที่ 3 คือ ใสปุยหมักจุลินทรีย พด.9 อัตรา 100 กิโลกรัมตอไร ออยคั้นน้ําใหผลผลิตและผลตอบแทน
                  ทางเศรษฐกิจต่ําสุด เทากับ 9.70 ตันตอไร  และ 26,940 บาทตอไร ตามลําดับ

                                                        ขอเสนอแนะ
                         1. การทดลองศึกษาวิจัยการปลูกออยคั้นน้ํา ควรทําการทดลอง 3 ป จะไดขอมูลผลผลิต 2 รอบ

                  การผลิต เพราะตองใชเวลา 8-12 เดือนจึงสามารถเก็บผลผลิตนําไปคั้นน้ําได    เมื่อตัดออยแลวสามารถ
                  แตกกอใหมไดอีก สามารถไวตอได 3-4 ป ดังนั้นในรอบการผลิตครั้งที่ 2 ไมจําเปนตองปลูกออยใหม
                         2. ควรศึกษาปริมาณขี้เถาที่ใชปรับสภาพดินกรด ควบคูกับปริมาณธาตุอาหารพืชในขี้เถารวมดวย

                  เพราะถาใชปริมาณมากเกินจะเกิด over liming และ ปริมาณธาตุอาหารที่มากเกินพอสําหรับความ
                  ตองการของพืชออยคั้นน้ํา

                                                       ประโยชนที่ไดรับ

                  1. สามารถใชขี้เถาไมยางพาราซึ่งมีคุณสมบัติเปนดางปรับปรุงคุณภาพดินกรด และเพิ่มธาตุอาหารในดิน ลด
                  การใชปุยเคมี ลดตนทุนการผลิต ไดแนวทางการการจัดการดินเพื่อเพิ่มผลผลิตออยคั้นน้ําในพื้นที่จังหวัด
                  สงขลา
                  2. เกษตรกรสามารถเลือกวิธีการจัดการดินและนํามาประยุกตใชใหเหมาะสมกับพื้นที่ของตนเอง ทําใหเกิด

                  ความคุมคาทั้งในดานการลดตนทุนการผลิต การเพิ่มผลผลิตของออยคั้นน้ํา และการใชประโยชนที่ดินได
                  อยางยั่งยืน

                                                    การเผยแพรผลงานวิจัย

                         เมื่อผลการดําเนินการวิจัยสิ้นสุดจะไดวิธีการที่เหมาะสมในการเพิ่มผลผลิตออยคั้นน้ํา  และนํา
                  ผลงานวิจัยเผยแพรในระบบสารสนเทศผานเครือขายอินเตอรเน็ตของกรมพัฒนาที่ดิน คูมือการผลิต
                  สงเสริม การจัดนิทรรศการ เผยแพรผานเครือขายหมอดินอาสา กลุมเกษตรกร เครือขายเกษตรอินทรีย
                  หนวยงานภาครัฐและเอกชน
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40