Page 31 - ผลการใช้ปุ๋ยชีวภาพและปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงต่อขนาดและน้ำหนักของทะลายของปาล์มน้ำมันที่ปลูกในพื้นที่ดินเปรี้ยวจัดจังหวัดพัทลุง
P. 31
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
26
สรุปผลการทดลอง
จากการศึกษาผลการใชปุยชีวภาพและปุยอินทรียคุณภาพสูงตอขนาดและน้ําหนักของทะลายของ
ปาลมน้ํามันที่ปลูกในพื้นที่ดินเปรี้ยวจัด จังหวัดพัทลุง สรุปไดดังนี้
1. ขนาดและน้ําหนักของทะลาย และน้ําหนักสดผลผลิตของปาลมน้ํามัน พบวา ตํารับ 8 (T8) ที่ที่มี
การใสโดโลไมทตามอัตราคาความตองการปูน (LR) รวมกับปุยเคมีอัตราครึ่งหนึ่งตามคาวิเคราะหดิน รวมกับปุย
ชีวภาพ พด.12 อัตรา 10 กิโลกรัมตอตน ทําใหปาลมน้ํามันใหผลผลิตมีเสนรอบวงของทะลาย น้ําหนักสดตอ
ทะลาย และน้ําหนักผลผลิตตอไรมากสูงที่สุด คือ เสนรอบวงของทะลายมีคาเฉลี่ยเทากับ 95.05 เซนติเมตร
น้ําหนักสดตอทะลายมีคาเฉลี่ยเทากับ 11.90 กิโลกรัมตอทะลาย และน้ําหนักผลผลิตตอไรมีคาเฉลี่ยเทากับ
3,215.29 กิโลกรมตอไรตอป ตามลําดับ
2. สมบัติทางเคมีของดินหลังการทดลอง พบวา คาความเปนกรด-ดางของดิน (pH) ของดินมีคาเพิ่ม
สูงขึ้นในตํารับที่มีการใสปุยอินทรียเมื่อเปรียบเทียบกับตํารับที่ไมมีการใสปุยอินทรีย ความตองการปูนของดินใน
ตํารับตํารับที่มีการใสปุยอินทรียจะมีปริมาณลดลงเมื่อเปรียบเทียบกับตํารับที่ไมมีการใสปุยอินทรียปริมาณ
อินทรียวัตถุของดินจะเพิ่มขึ้นทุกตํารับ ยกเวนตํารับที่ใสเฉพาะปุยเคมี ปริมาณไนโตรเจนทั้งหมดของดินเพิ่ม
เล็กนอยในทุกตํารับ ยกเวนแปลงควบคุม สวนปริมาณฟอสฟอรัสที่เปนประโยชน โพแทสเซียมที่เปนประโยชน
แคลเซียม และแมกนีเซียมมีปริมาณเพิ่มสูงขึ้นทุกตํารับ
3. ตนทุนและผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ พบวา ตํารับ 8 ที่ที่มีการใสโดโลไมทตามอัตราคาความ
ตองการปูน (LR) รวมกับปุยเคมีอัตราครึ่งหนึ่งตามคาวิเคราะหดิน รวมกับปุยชีวภาพ พด.12 อัตรา 10
กิโลกรัมตอตน ทําใหปาลมน้ํามันมีผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมดสูงที่สุดในปาลมน้ํามันที่มีอายุ 5-7 ป มีคา
เทากับ มีคาเทากับ 3,296.45, 4,575.05 และ 3,769.48 บาทตอไรตอป
ขอเสนอแนะ
หากเกษตรกรผูปลูกปาลมน้ํามันมีการนําเศษวัสดุที่เหลือใชจากการทําการเกษตรที่เหลือใชเปน
วัตถุดิบในการผลิตปุยหมัก น้ําหมักชีวภาพ และปุยอินทรียคุณภาพสูง จะเปนแนวทางหนึ่งในการลดตนทุนผัน
แปรรวม และสามารถเพิ่มรายไดเหนือตนทุนผันแปรได
ประโยชนที่ไดรับ
1.ไดแนวทางการการจัดการดิน การลดการใชปุยเคมีรวมกับการใชปุยอินทรียในการปลูกปาลม
น้ํามันในพื้นที่ดินเปรี้ยว เพื่อเพิ่มผลผลิต ลดตนทุน และเพิ่มรายไดใหเกษตรกรผูปลูกปาลมน้ํามัน
2. สามารถนําไปเผยแพรใหแกเกษตรกรและผูที่สนใจ รวมทั้งสถาบันทางการศึกษาและหนวยใน
สังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ เพื่อการสงเสริมและตอยอดการวิจัยตอไป