Page 38 - ผลการใช้ปุ๋ยชีวภาพและลดอัตราปุ๋ยเคมีต่อการเพิ่มผลผลิตของปาล์มนํ้ามันในพื้นที่ดินเปรี้ยวจัด จังหวัดพัทลุง
P. 38

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                       33


                                                         สรุปผลการทดลอง
                        จากการศึกษาผลการใช้ปุ๋ยชีวภาพและลดอัตราปุ๋ยเคมีต่อการเพิ่มผลผลิตของปาล์มน้้ามันในพื้น

               ที่ดินเปรี้ยวจัด จังหวัดพัทลุงสรุปได้ดังนี้
                        1. สมบัติทางเคมีของดินหลังการทดลอง พบว่า ค่าความเป็นกรด-ด่างของดิน (pH) ของดินมีค่าเพิ่ม
               สูงขึ้นในต้ารับที่มีการใส่ปุ๋ยอินทรีย์เมื่อเปรียบเทียบกับต้ารับที่ไม่มีการใส่ปุ๋ยอินทรีย์ ความต้องการปูนของดิน
               ในต้ารับต้ารับที่มีการใส่ปุ๋ยอินทรีย์จะมีปริมาณลดลงเมื่อเปรียบเทียบกับต้ารับที่ไม่มีการใส่ปุ๋ยอินทรีย์ปริมาณ

               อินทรียวัตถุของดินจะเพิ่มขึ้นทุกต้ารับ ปริมาณไนโตรเจนทั้งหมดของดินลดลงในทุกต้ารับ ยกเว้นใส่ 30 %
               ปุ๋ยเคมีตามอัตราแนะน้าร่วมกับปุ๋ยชีวภาพ พด.12 อัตรา 15 กิโลกรัมต่อต้นและใส่ 40 % ปุ๋ยเคมีตามอัตรา
               แนะน้าร่วมกับปุ๋ยชีวภาพ พด.12 อัตรา 15 กิโลกรัมต่อต้น ส่วนปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์
               โพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ แคลเซียม และแมกนีเซียมมีปริมาณเพิ่มสูงขึ้นทุกต้ารับ

                        2. การเจริญเติบโตและผลผลิตของปาล์มน้้ามัน พบว่า ต้ารับที่ใส่ 30 % ปุ๋ยเคมีตามอัตราแนะน้า
               ร่วมกับปุ๋ยชีวภาพ พด.12 อัตรา 15 กิโลกรัมต่อต้น จะมีผลท้าให้ค่าเฉลี่ยตลอดการทดลองของความยาวใบ
               ความกว้างใบ จ้านวนทะลาย และน้้าหนักสดผลผลิตของปาล์มน้้ามันมีค่ามากที่สุด เท่ากับ 81.43, 4.39
               เซนติเมตร 15.86 ทะลายต่อต้นต่อปี และ 3,392.64 กิโลกรัมต่อไร่ต่อปี ตามล้าดับ

                        3. ต้นทุนและผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ พบว่า ในปี 2561 มีรายได้เหนือต้นทุนผันแปรติดลบหรือ
               ขาดทุนทุกต้ารับ ในขณะที่ปี 2562  และ 2563  ต้ารับที่ใส่ 30  %  ปุ๋ยเคมีตามอัตราแนะน้าร่วมกับปุ๋ย
               ชีวภาพ พด.12  อัตรา 15  กิโลกรัมต่อต้น  มีรายได้เหนือต้นทุนผันแปรมากที่สุดเท่ากับ 1,389.08  และ

               7,317.32 บาทต่อไร่ ตามล้าดับ

                                                       ข้อเสนอแนะ
                        หากเกษตรกรผู้ปลูกปาล์มน้้ามันมีการน้าเศษวัสดุที่เหลือใช้จากการท้าการเกษตรที่เหลือใช้เป็น
               วัตถุดิบในการผลิตปุ๋ยหมัก และน้้าหมักชีวภาพ จะเป็นแนวทางหนึ่งในการลดต้นทุนผันแปรรวม และสามารถ

               เพิ่มรายได้เหนือต้นทุนผันแปรได้

                                                     ประโยชน์ที่ได้รับ

                        1.ได้แนวทางการการจัดการดิน การลดการใช้ปุ๋ยเคมีร่วมกับการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ในการปลูกปาล์ม
               น้้ามันในพื้นที่ดินเปรี้ยว เพื่อเพิ่มผลผลิต ลดต้นทุน และเพิ่มรายได้ให้เกษตรกรผู้ปลูกปาล์มน้้ามัน
                        2. สามารถน้าไปเผยแพร่ให้แก่เกษตรกรและผู้ที่สนใจ รวมทั้งสถาบันทางการศึกษาและหน่วยใน
               สังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เพื่อการส่งเสริมและต่อยอดการวิจัยต่อไป
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43