Page 28 - ผลการใช้ปุ๋ยชีวภาพและลดอัตราปุ๋ยเคมีต่อการเพิ่มผลผลิตของปาล์มนํ้ามันในพื้นที่ดินเปรี้ยวจัด จังหวัดพัทลุง
P. 28

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                       23


               ตารางที่ 6 น้้าหนักสดผลผลิต (กิโลกรัมต่อไร่ต่อปี) ของปาล์มน้้ามันในแต่ละปีการทดลอง

                 ต้ารับการทดลอง       ปี 2561            ปี 2562           ปี 2563             เฉลี่ย
                      T              1,131.53c          979.00f           1,770.27f          1,293.60
                        1
                      T              1,131.53c         1,310.47ef         2,370.13e          1,604.04
                        2
                      T             1,371.33bc        1,714.53de         2,631.20de          1,905.69
                        3
                      T            1,627.27abc        2,106.13bcd        3,430.53bc          2,387.98
                        4
                      T             2,021.80ab         2,500.67bc         3,896.13b          2,806.20
                        5
                      T              2,194.13a         3,264.07a          4,719.73a          3,392.64
                        6
                      T            1,762.00abc         1,961.67cd        2,678.13de          2,133.93
                        7
                      T            1,903.73abc        2,106.13bcd        3,135.00cd          2,381.62
                        8
                      T             1,994.67ab         2,629.73b          3,861.00b          2,828.47
                        9
                     F-test               *                 **                **

                    CV (%)             24.20              5.07               9.40

               หมายเหตุ       ค่าเฉลี่ยตามด้วยตัวอักษรเหมือนกันในแนวตั้งเดียวกัน  ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติโดยวิธี

                              Duncan’ s New  Multiple  Range  Test
                              ns   =  ไม่มีความแตกต่างทางสถิติ
                              *     =  มีความแตกต่างทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น  95  เปอร์เซ็นต์
                              **    =  มีความแตกต่างทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น  99  เปอร์เซ็นต์



                                               ผลตอบแทนทางด้านเศรษฐกิจ

                     ต้นทุนและรายได้ ปี 2561
                     จากตารางที่ 6 จะเห็นได้ว่า ต้ารับที่ท้าให้มีต้นทุนการปลูกปาล์มน้้ามันสูงสุดคือ ต้ารับที่ 2  (T )  วิธี
                                                                                                    2
               เกษตรกร มีต้นทุนผันแปรรวมเท่ากับ 14,672.97 บาทต่อไร่ รองลงมาคือ ต้ารับที่ 9 (T ) ใส่ 40 % ปุ๋ยเคมี
                                                                                         9
               ตามอัตราแนะน้าร่วมกับปุ๋ยชีวภาพ พด.12 อัตรา 15 กิโลกรัมต่อต้น ต้ารับที่ 6 (T )  ใส่ 30 % ปุ๋ยเคมีตาม
                                                                                    6
               อัตราแนะน้าร่วมกับปุ๋ยชีวภาพ พด.12 อัตรา 15 กิโลกรัมต่อต้น และ 3 (T ) ใส่ปุ๋ยเคมีตามอัตราแนะน้า มี
                                                                               3
               ต้นทุนผันแปรรวมเท่ากับ 13,838.53, 13,564.27 และ 13,474.87 บาทต่อไร่ ตามล้าดับ ส่วนต้ารับที่
               1 (T ) แปลงควบคุม มีต้นทุนผันแปรรวมน้อยที่สุดเท่ากับ 6,312.97 บาทต่อไร่ ซึ่งเกษตรกรขายปาล์ม
                   1
               น้้ามันได้ในราคากิโลกรัมละ 4.50 บาท ท้าให้มีรายได้เหนือต้นทุนผันแปรติดลบทุกต้ารับ ซึ่งหมายถึงการ
               ขาดทุนทุกต้ารับ ซึ่งต้ารับที่ 1 (T ) แปลงควบคุม มีรายได้เหนือต้นทุนผันแปรติดลบหรือขาดทุนน้อยที่สุด
                                            1
               เท่ากับ 1,221.08 บาทต่อไร่ ส่วนต้ารับที่ 2 (T ) วิธีเกษตรกรรายได้เหนือต้นทุนผันแปรติดลบหรือขาดทุน
                                                        2
               มากที่สุดเท่ากับ 9,581.00 บาทต่อไร่
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33