Page 44 - การศึกษาศักยภาพและการจัดการดินในพื้นที่ดินเค็มเพื่อการผลิตพืชสมุนไพรประจำท้องถิ่นไปสู่การรับรองเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม พี จี เอส กรณีศึกษาในพื้นที่ดินเค็มของจังหวัดนครราชสีมา Study of Soil quality and management of Saline Soil for local Herb production to Participatory Guarantee Systems (PGS) , Case study in Nakhon Ratchasima province.
P. 44
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
44
ภาพผนวกที่ 6 ผลการทดสอบหาหาสารแอลคาลอยด์ (Alkaloids)(ก) รากสามสิบเกิดขึ้นเองตาม
ธรรมชาติ (ข) ตำรับที่ 1 ไม่ใส่ปุ๋ยหมักจากสารเร่งซุปเปอร์ พด.1 (ค) ตำรับที่ 2 ใส่ปุ๋ยหมักจากสารเร่ง
ซุปเปอร์ พด.1 อัตรา 500 กก./ไร่ (ง) ตำรับที่ 3 ใส่ปุ๋ยหมักจากสารเร่งซุปเปอร์ พด.1 อัตรา 1,000 กก./
ไร่ (จ) ตำรับที่ 4 ใส่ปุ๋ยหมักจากสารเร่งซุปเปอร์ พด.1 อัตรา 1,500 กก./ไร่ (ฉ) ตำรับที่ 5 ใส่ปุ๋ยหมักจาก
สารเร่งซุปเปอร์ พด.1 อัตรา 2,000 กก./ไร่
ภาพผนวกที่ 7 ผลการทดสอบหาหาสารซาโปนิน (Saponins)(ก) รากสามสิบเกิดขึ้นเองตาม
ธรรมชาติ (ข) ตำรับที่ 1 ไม่ใส่ปุ๋ยหมักจากสารเร่งซุปเปอร์ พด.1 (ค) ตำรับที่ 2 ใส่ปุ๋ยหมักจากสารเร่ง
ซุปเปอร์ พด.1 อัตรา 500 กก./ไร่ (ง) ตำรับที่ 3 ใส่ปุ๋ยหมักจากสารเร่งซุปเปอร์ พด.1 อัตรา 1,000 กก./
ไร่ (จ) ตำรับที่ 4 ใส่ปุ๋ยหมักจากสารเร่งซุปเปอร์ พด.1 อัตรา 1,500 กก./ไร่ (ฉ) ตำรับที่ 5 ใส่ปุ๋ยหมักจาก
สารเร่งซุปเปอร์ พด.1 อัตรา 2,000 กก./ไร่