Page 33 - ผลของปุ๋ยชีวภาพ (พด.12) ร่วมกับมูลไก่ต่อผลผลิตและคุณภาพแตงโมหลังนาข้าว Effect of Bio-Fertilizer (LDD.12) and chicken manure to yield and quality of watermelon planted after rice.
P. 33
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
2. สถานภาพด้านทรัพยากรธรรมชาติ แปลงวิจัยอยู่ในพื้นที่บ้านเอ้ ต าบลเอ้ อ าเภอเขื่องใน จังหวัด
อุบลราชธานี จากการส ารวจดินพบว่า พื้นที่ในแปลงวิจัยเป็นชุดดินจักราช (Ckr-slB) จัดอยู่ในกลุ่มชุดดินที่ 40
ชุดดินจักราช (Ndg-slB) การจ าแนก (USDA) Coarse-loamy, mixed, isohyperthermic Typic (Kandic
Oxyaquic) Paleustults การก าเนิด จากตะกอนน้ า สภาพพื้นที่เป็นลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย มีความลาดชัน 2-5 %
การระบายน้ าดีปานกลางถึงดี การไหลบ่าของน้ าบนผิวดินปานกลาง และมีการซึมผ่านได้ของน้ าปานกลาง
ลักษณะและสมบัติดิน เป็นดินลึกถึงลึกมาก ดินบนเป็นดินร่วนปนทราย สีน้ าตาล ดินล่าง เป็นดินร่วนปน
ทรายในตอนบน และพบดินร่วนเหนียวปนทรายในตอนล่าง มีสีน้ าตาลหรือน้ าตาลปนเหลือง พบจุดประสีน้ าตาลแก่
ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดถึงเป็นกรดเล็กน้อย (pH 5.5-6.5) ในดินบน และเป็นกรดจัด
มาก (pH 4.5-5.0) ในดินล่าง
ข้อจ ากัด
เนื้อดินค่อนข้างเป็นทราย มีความอุดมสมบูรณ์ต่ า ในฤดูแล้ง ดินจะแห้งจัด
เสี่ยงต่อการขาดแคลนน้ าส าหรับพืช และเสี่ยงต่อการชะล้างพังทลายในฤดูฝน
ข้อเสนอแนะ
ควรใช้ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก และปุ๋ยเคมี เพื่อเพิ่มแร่ธาตุต่างๆ ให้แก่ดิน และเพิ่ม
สมบัติทางกายภาพของดิน และปรับปรุงความอุดมสมบูรณ์ของดิน ป้องกันการ
ขาดน้ าและการชะล้างพังทลาย การเลือกระยะเวลาปลูกพืชที่เหมาะสม การไถพรวน
แต่น้อย และการปลูกพืชแบบสลับ (intercropping) การจัดหาแหล่งน้ าโดยการขุดสระ
- ด าเนินการส ารวจดิน สุ่มเก็บตัวอย่างดินก่อนด าเนินการทดลองภายในพื้นที่นาข้าวของเกษตรกร
ณ บ้านเอ้ ต าบลก่อเอ้ อ าเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี