Page 75 - การประเมินประสิทธิภาพของสระน้ำในไร่นาของเกษตรกรทั่วประเทศจากอิทธิพลจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่รุนแรง The Performance of Farm Pond Impactsof extreme Climate Change.
P. 75

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                           61

                   4. แนวทางการเลือกพื นที่ในการสร้างสระน ้าในไร่นาโดยใช้หลักอุทกวิทยา

                          แผนที่พื้นที่ความเหมาะสมในการสร้างสระน้ าในไร่นาในประเทศไทย สามารถจ าแนกตามระดับความ

                   เหมาะสมได้ 5 ระดับ ได้แก่ ไม่เหมาะสม เหมาะสมน้อย ค่อนข้างเหมาะสม เหมาะสมมาก และพื้นทีอื่น ๆ
                          โดยประเทศไทยมีพื้นที่ในการสร้างสระน้ าในไร่นา ระดับไม่เหมาะสมมีพื้นที่ 126.69 ล้านไร่ คิดเป็น
                   39.50 เปอร์เซ็นต์ ระดับเหมาะสมน้อยมีพื้นที่ 0.39 ล้านไร่ คิดเป็น 0.12 เปอร์เซ็นต์ ระดับค่อนข้างเหมาะสม
                   มีพื้นที่ 104.67  ล้านไร่ คิดเป็น 32.64 เปอร์เซ็นต์ ระดับเหมาะสมมากมีพื้นที่ 38.77  ล้านไร่ คิดเป็น 12.09
                   เปอร์เซ็นต์ และพื้นที่อื่น ๆ มีพื้นที่ 50.19 ล้านไร่ คิดเป็น 15.65 เปอร์เซ็นต์


                          4.1 สระน ้าจากการแปลภาพถ่ายดาวเทียม

                          สระน้ าที่ได้จากการแปลภาพถ่ายดาวเทียมจ านวน 368,103 สระ ซ้อนทับกับฐานข้อมูลพื้นที่ความ
                   เหมาะสมในการสร้างสระน้ าในไร่นาในประเทศไทย พบว่าระดับไม่เหมาะสมมีจ านวนสระน้ ามากที่สุด
                   133,497 สระ คิดเป็น  36.27 เปอร์เซ็นต์  ระดับเหมาะสมน้อยมีจ านวน 186 สระ คิดเป็น 0.05 เปอร์เซ็นต์
                   ระดับค่อนข้างเหมาะสมมีจ านวน 129,779 สระ คิดเป็น 35.26 เปอร์เซ็นต์ ระดับเหมาะสมมากมีจ านวน

                   96,736 สระ คิดเป็น 26.28 เปอร์เซ็นต์ และพื้นที่อื่น ๆ มีจ านวน 7,905  สระ คิดเป็น 2.15  เปอร์เซ็นต์
                   รายละเอียดแสดงดังตารางที่ 11
                          การประมวลผลต าแหน่งที่ตั้งสระน้ าในไร่นาจากการแปลภาพถ่ายดาวเทียม ร่วมกับข้อมูลพื้นที่

                   เหมาะสมในการสร้างแหล่งน้ าในไร่นา พบว่าส่วนใหญ่อยู่ในพื้นที่ไม่เหมาะสมถึง 36.27 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งอาจจะ
                   เกิดจากปัจจัยหลายด้าน เช่น อยู่ในพื้นที่เสี่ยงต่อภาวะความแห้งแล้งซ้ าซาก มีความสามารถในการซาบซึมน้ า
                   ของดินที่อิ่มตัวสูง อยู่ในพื้นที่ลาดชันสูง มีการแพร่กระจายของดินเค็ม เป็นต้น ซึ่งจะต้องมีการบริหารจัดการ

                   เพื่อให้แหล่งน้ าที่สร้างขึ้นมีประสิทธิภาพและก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อเกษตรกร
                          ส าหรับแหล่งน้ าในไร่นาที่อยู่ในพื้นที่ค่อนข้างเหมาะสมและเหมาะสมมาก 35.26 และ 26.28
                   เปอร์เซ็นต์ ตามล าดับ ควรมีการบริหารจัดการเพื่อรักษาประสิทธิภาพของสระน้ า เช่น การปลูกหญ้าแฝกรอบ
                   ขอบสระ เพื่อป้องกันการชะล้างพังทลายของดินลงสู่ก้นบ่อซึ่งจะท าให้เกิดการตื้นเขิน เป็นต้น
   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80