Page 61 - การประเมินประสิทธิภาพของสระน้ำในไร่นาของเกษตรกรทั่วประเทศจากอิทธิพลจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่รุนแรง The Performance of Farm Pond Impactsof extreme Climate Change.
P. 61

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                           50

                   3. ประเมินผลกระทบความเสียหายจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

                          แผนที่ระดับความเสี่ยงภาวะแห้งแล้งซ้ าซากในประเทศไทย บ่งบอกถึงระดับความรุนแรงของความ

                   เสี่ยงต่อภาวะแห้งแล้งซ้ าซากในพื้นที่ต่าง ๆ โดยจ าแนกพื้นที่ในแต่ละระดับออกเป็นพื้นที่ราบและพื้นที่สูง
                   และแบ่งตามระดับความเสี่ยงภาวะแห้งแล้งซ้ าซาก 3 ระดับ คือ ระดับต่ า ระดับปานกลาง และระดับสูง
                          โดยประเทศไทยมีพื้นที่ราบระดับความเสี่ยงต่ ามีพื้นที่ 157.46  ล้านไร่ คิดเป็น 49.08  เปอร์เซ็นต์
                   ระดับความเสี่ยงปานกลางมีพื้นที่ 53.77  ล้านไร่ คิดเป็น 16.76  เปอร์เซ็นต์ ระดับความเสี่ยงสูงมีพื้นที่ 2.39
                   ล้านไร่ คิดเป็น 0.75 เปอร์เซ็นต์ ส่วนพื้นที่สูงระดับความเสี่ยงต่ ามีพื้นที่ 21.92 ล้านไร่ คิดเป็น 6.83 เปอร์เซ็นต์

                   ระดับความเสี่ยงปานกลางมีพื้นที่ 26.71 ล้านไร่ คิดเป็น 8.33 เปอร์เซ็นต์ ระดับความเสี่ยงสูงมีพื้นที่ 4.54 ล้านไร่
                   คิดเป็น 1.42 เปอร์เซ็นต์ และพื้นที่อื่นๆ 54.03 ล้านไร่ คิดเป็น 16.84 เปอร์เซ็นต์

                          3.1 สระน ้าจากการแปลภาพถ่ายดาวเทียม

                          น าสระน้ าที่ได้จากการแปลภาพถ่ายดาวเทียมจ านวน 368,103 สระ ซ้อนทับกับฐานข้อมูลพื้นที่เสี่ยง
                   ต่อการเกิดภาวะแห้งแล้งซ้ าซากในประเทศไทย พบว่าพื้นที่ราบระดับความเสี่ยงต่ ามีจ านวนสระน้ ามากที่สุด

                   จ านวน 260,457 สระ คิดเป็น 70.76  เปอร์เซ็นต์ ระดับความเสี่ยงปานกลางจ านวน 84,248 สระ คิดเป็น
                   22.89  เปอร์เซ็นต์ ระดับความเสี่ยงสูงจ านวน 2,994 สระ คิดเป็น 0.81 เปอร์เซ็นต์ ส่วนสระน้ าที่อยู่ในพื้นที่
                   สูงระดับความเสี่ยงต่ ามีจ านวนสระน้ าน้อยที่สุดจ านวน 2,240 สระ คิดเป็น 0.61 เปอร์เซ็นต์ ระดับความเสี่ยง
                   ปานกลางจ านวน 6,958 สระ คิดเป็น 1.89 เปอร์เซ็นต์ ระดับความเสี่ยงสูงจ านวน 3,022 สระ คิดเป็น 0.82

                   เปอร์เซ็นต์ และสระน้ าที่อยู่ในพื้นที่อื่น ๆ จ านวน 8,184 สระ คิดเป็น 2.22 เปอร์เซ็นต์ รายละเอียดแสดงดัง
                   ตารางที่ 9
                          จากการประมวลผลต าแหน่งที่ตั่งของสระน้ ากับระดับความเสี่ยงต่อภาวะความแห้งแล้งซ้ าซาก พบว่า

                   จ านวนสระน้ าส่วนใหญ่อยู่ในพื้นที่ราบ ระดับความเสียงต่ า ซึ่งส่งผลต่อประสิทธิภาพของสระน้ า ท าให้มีน้ าใช้
                   ประโยชน์ในกิจกรรมต่างๆได้ดี โดยสระน้ าที่อยู่ในพื้นที่ความเสี่ยงระดับปานกลาง และสูงนั้น ควรมีการพิจารณา
                   บริหาร จัดการ ให้ความส าคัญ ในหลายๆด้าน เช่น วิธีกักเก็บน้ าในสระป้องกันการระเหยในพื้นที่ที่มีความชื้น
                   สัมพัทธ์ในอากาศน้อย การจัดการสระน้ าในพื้นที่ที่มีปริมาณฝนน้อยหรือความสามารถในการกักเก็บน้ าของ
                   ดินน้อยมาก เป็นต้น
   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66