Page 78 - ศึกษาผลกระทบจากการเผาเศษวัสดุทางเกษตรต่อการปลูกพืชเศรษฐกิจในพื้นที่ลุ่มน้ำแม่แจ่มและศึกษาการชะล้างพังทลายของดินด้วยแบบจำลองการสูญเสียดินสากล
P. 78

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                           66

                   3. อิทธิพลจากการเผาต่อระบบการปลูกข้าวโพด และคาร์บอนในดินบนพื นที่สูง

                      3.1 ฤดูปลูกที่ 1 ปี พ.ศ. 2561
                          3.1.1 ผลผลิตข้าวโพด
                         1) ขนาดฝัก

                          จากการศึกษาพบว่าขนาดความกว้างฝักข้าวโพดมีค่าเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 4.15 – 4.46 เซนติเมตร โดย
                   ต ารับทึ่ 7 การเตรียมดินโดยไถก่อนปลูกร่วมกับใส่ปุ๋ยเคมีตามค าแนะน า ข้าวโพดมีความกว้างฝักเฉลี่ยมาก

                   ที่สุด 4.46 เซนติเมตรรองลงมาคือต ารับที่ 3 ไม่ไถพรวนก่อนปลูกร่วมกับการใส่ปุ๋ยเคมีตามวิธีที่เกษตรกร
                   ปฏิบัติ ข้าวโพดมีความกว้างฝักเฉลี่ย 4.39 เซนติเมตร ส่วนต ารับที่ 1 เป็นต ารับควบคุม ข้าวโพดมีความกว้าง

                   ฝักเฉลี่ยน้อยที่สุดเท่ากับ 4.15 เซนติเมตร  ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ ด้านความยาวฝัก ค่าเฉลี่ยอยู่

                   ระหว่าง 16.40 – 17.73 เซนติเมตร โดยต ารับทึ่ 4 การไถพรวนดินก่อนปลูกร่วมกับการปุ๋ยเคมีตามวิธีที่
                   เกษตรกรปฏิบัติ ท าให้ข้าวโพดมีความยาวเฉลี่ยมากที่สุด 17.73 เซนติเมตร รองลงมาคือต ารับที่ 3 ไม่ไถพรวน

                   ก่อนปลูกร่วมกับการใส่ปุ๋ยเคมีตามวิธีที่เกษตรกรปฏิบัติ ข้าวโพดมีความกว้างฝักเฉลี่ย 17.72 เซนติเมตร ส่วน
                   ต ารับที่ 1 เป็นต ารับควบคุม ข้าวโพดมีความกว้างฝักเฉลี่ยน้อยที่สุดเท่ากับ 16.40 เซนติเมตร เช่นเดียวกับ

                   ความกว้างฝัก และพบว่าไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ ดังตารางที่ 6


                          2) น้ าหนักต่อฝักก่อนปอกเปลือก
                          จากการศึกษาพบว่าน้ าหนักข้าวโพดต่อฝักก่อนปอกเปลือกมีค่าเฉลี่ย 177.33 – 225.73 กรัม เฉลี่ย
                   204.57 กรัม โดยต ารับที่ 7 การเตรียมดินโดยไถก่อนปลูกร่วมกับใส่ปุ๋ยเคมีตามค าแนะน า น้ าหนักฝักเฉลี่ย
                   มากที่สุด 225.73 กรัม รองลงมาคือต ารับที่ 6 การเตรียมดินโดยไถก่อนปลูกร่วมกับใส่ปุ๋ยตามค าแนะน าจาก

                   โปรแกรม TSFMและปุ๋ยอินทรีย์อัตรา 4 ตันต่อไร่ มีน้ าหนักต่อฝักเฉลี่ยเท่ากับ 214.80 กรัม ส่วนต ารับที่ 1
                   เป็นต ารับควบคุม  มีน้ าหนักต่อฝักเฉลี่ยน้อยที่สุดเท่ากับ 177.33 กรัม ซึ่งพบว่าแต่ละต ารับที่มีการจัดการที่
                   แตกต่างกันมีน้ าหนักฝักไม่แตกต่างกันทางสถิติ

                          3) น้ าหนักต่อฝักหลังปอกเปลือก

                          น้ าหนักข้าวโพดต่อฝักหลังปอกเปลือกมีค่าเฉลี่ย 160.93 – 196.10 กรัม โดยต ารับทึ่ 4 การเตรียม
                   ดินโดยไถก่อนปลูกร่วมกับใส่ปุ๋ยเคมีวิธีที่เกษตรกรปฏิบัติ มีน้ าหนักฝักหลังปอกเปลือกเฉลี่ยมากที่สุด 196.10
                   กรัม รองลงมาคือต ารับที่ 7 การเตรียมดินโดยไถก่อนปลูกร่วมกับใส่ปุ๋ยเคมีตามค าแนะน า เท่ากับ 195.50

                   กรัม ส่วนต ารับที่ 1 เป็นต ารับควบคุม  มีน้ าหนักต่อฝักหลังปอกเปลือกน้อยที่สุดเท่ากับ 160.93 กรัม ซึ่ง
                   พบว่าไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ เช่นเดียวกับก่อนปอกเปลือก

                          4) น้ าหนักเมล็ดต่อฝัก
                          น้ าหนักเมล็ดข้าวโพดต่อฝัก จากการศึกษาพบว่ามีค่าเฉลี่ย 137.33 – 172.00 กรัม โดยต ารับทึ่ 6

                   การเตรียมดินโดยไถก่อนปลูกร่วมกับใส่ปุ๋ยตามค าแนะน าจากโปรแกรม TSFM และปุ๋ยอินทรีย์อัตรา 4 ตันต่อ
                   ไร่ น้ าหนักเมล็ดเฉลี่ยมากที่สุด 172.00 กรัม รองลงมาได้แก่ต ารับที่ 5 การเตรียมดินโดยไถก่อนปลูกร่วมกับใส่
                   ปุ๋ยตามค าแนะน าจากโปรแกรม TSFM และปุ๋ยอินทรีย์อัตรา 2 ตันต่อไร่ มีน้ าหนักเมล็ดเฉลี่ยเท่ากับ 164.67
                   กรัม ส่วนต ารับที่ 1 เป็นต ารับควบคุม มีน้ าหนักเมล็ดข้าวโพดต่อฝักเฉลี่ยน้อยที่สุดเท่ากับ 137.33 กรัม ซึ่งผล

                   การศึกษาพบว่ามีความแตกต่างกันทางสถิติ ที่ระดับนัยส าคัญ 0.05 แสดงให้เห็นว่าการจัดการโดยการไถ
                   พรวนเตรียมดินร่วมกับการใช้ปุ๋ยเคมีและปุ๋ยอินทรีย์อัตรา 4 ตันต่อไร่นั้นท าให้เมล็ดข้าวโพดพัฒนาได้ดีและมี
                   น้ าหนักเมล็ดมากกว่าต ารับที่ไม่ได้ใส่ปุ๋ยอินทรีย์
   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83