Page 69 - ผลของอัตราปุ๋ยไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม ต่อการเจริญเติบโตผลผลิต ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ และปริมาณสารเคอร์คูมินอยด์ในขมิ้นชัน Effect of Nitrogen, Phosphorus and Potassium Fertilizers on Plant Growth, Products, Economic Return and Curcuminoids in Turmeric (Curcuma Longa L.)
P. 69

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน







                   ภาคผนวกที่ 10 วิธีวิเคราะห์สารเคอร์คูมินอยด์ ดัดแปลงจากวิธีการของ Thai Herbal Pharmacopoeia volume 1
                          สารเคมี

                                 1)  สารเคอร์คูมิน

                                 2)  เอทิลแอลกอฮอล์
                                 3)  เตตระไฮโดรฟิวแรน

                          อุปกรณ์
                                 1)  ขวดปริมาตร ขนาด 10, 25, 50 และ 100 มิลลิลิตร

                                 2)  ปิเปต ขนาด 0.5, 1 และ 5 มิลลิลิตร

                                 3)  เครื่องเขย่า
                                 4)  เครื่องชั่งทศนิยม 4 ต าแหน่ง

                                 5)  เครื่องวิสิเบิลสเปกโทรโฟโทมิเตอร์
                          วิธีเตรียมสารละลายมาตรฐานเคอร์คูมิน

                                 1)  เตรียมสารละลายมาตรฐานเคอร์คูมิน ความเข้มข้น 0, 0.8, 1.6, 2.4 และ 3.2 มิลลิกรัมต่อ

                                     ลิตร โดยชั่งสารเคอร์คูมิน 0.0020 g ใส่ขวดปริมาตรขนาด 25 มิลลิลิตร ละลายสารเคอร์
                                     คูมินด้วยเอทิลแอลกอฮอล์ ปรับปริมาตรให้ได้ครบ 25 มิลลิลิตร

                                 2)  ดูดสารละลายจากขวดปริมาตรมา 0, 1, 2.5, 3 และ 4 มิลลิลิตร ใส่ในขวดปริมาตรขนาด

                                     100 มิลลิลิตร ปรับปริมาตรด้วยเอทิลแอลกอฮอล์ ตามล าดับ
                          วิธีการวิเคราะห์

                                 1)  ชั่งตัวอย่างผงขมิ้นชันประมาณ 0.3000 กรัม ใส่ขวดปริมาตรขนาด 10 มิลลิลิตร บันทึก

                                     น้ าหนักที่แน่นอน
                                 2)  ละลายตัวอย่างด้วยสารละลายเตตระไฮโดรฟิวแรน และปรับปริมาตรให้ได้ 10 มิลลิลิตร

                                     พร้อมกับท าแบลงค์
                                 3)  น าไปเขย่าเบา ๆ บนเครื่องเขย่าเป็นระยะเวลา 24 ชั่วโมง

                                 4)  หลังเขย่า ดูดสารละลายส่วนใสเหนือตะกอนมา 1 มิลลิลิตร ปรับปริมาตรเป็น 25 มิลลิลิตร ด้วย
                                     เอทิลแอลกอฮอล์ ในขวดปริมาตร

                                 5)  ดูดสารละลายจากในข้อ 4 มา 1 มิลลิลิตร ปรับปริมาตรเป็น 50 มิลลิลิตร ด้วยเอทิลแอลกอฮอล์

                                     ในขวดปริมาตร
                                 6)  วัดค่าการดูดกลืนแสงด้วยเครื่องวิสิเบิลสเปกโทรโฟโทมิเตอร์ที่ความยาวคลื่น 420 นาโนเมตร โดย

                                     วัดค่าสารละลายมาตรฐานเคอร์คูมินความเข้มข้น 0, 0.8, 1.6, 2.4 และ 3.2 มิลลิกรัมต่อลิตร ก่อน

                                     จากนั้นวัดค่าแบลงค์และสารละลายตัวอย่าง ตามล าดับ
   64   65   66   67   68   69   70   71   72