Page 84 - ความหลากหลายทางพันธุกรรม มวลชีวภาพและผลผลิตเมล็ดของเชื้อพันธุ์ปอเทืองไทย Genetic Diversity, Biomass and Seed Yield of Thai Sunn Hemp (Crotalaria juncea L.) Germplasm
P. 84

ห
                                                                                     ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน




                                                                                                        71


                                                      ประโยชนที่ไดรับ

               1.  สามารถสรางองคความรูและความเขาใจพื้นฐานเกี่ยวกับความหลากหลายทางพันธุกรรมภายในประชากรและ
               ระหวางประชากรของเชื้อพันธุปอเทืองไทยใหกับเกษตรกร เจาหนาที่ของรัฐ สวนราชการที่เกี่ยวของ และบุคคลที่
               สนใจ
               2.  สามารถนําผลวิจัยเกี่ยวกับลักษณะเมล็ดพันธุและผลของเนื้อดินที่มีความสัมพันธกับการเจริญเติบโต  มวล
               ชีวภาพ  และผลผลิตเมล็ด  ไปเปนแนวทางเบื้องตนใหเกษตรกรในการจัดการที่เหมาะสมสําหรับการใชปอเทืองเพื่อ
               การปรับปรุงบํารุงดินและการผลิตเมล็ดพันธุที่มีประสิทธิภาพ

               3. ทําใหทราบถึงขอมูลลักษณะที่ดีในประชากรของแตละเชื้อพันธุ เชน ความสูง ทรงพุม มวลชีวภาพ ปริมาณธาตุ
               อาหารที่สําคัญ  และผลผลิตเมล็ด  ซึ่งสามารถใชเปนแหลงพันธุกรรมในการคัดเลือกพันธุปอเทืองของไทยใหมี
               ลักษณะตามตองการตอไป


                                                       เอกสารอางอิง
               กรมพัฒนาที่ดิน.  2554.  พืชตระกูลถั่วที่ใชเปนปุยพืชสดไดเร็ว  ปอเทือง  โสน  ถั่วพรา  ถั่วแปป.  เอกสารเพื่อการ
                      ถายทอดเทคโนโลยี ชุดความรูและเทคโนโลยีการพัฒนาที่ดิน. สํานักนิเทศและถายทอดเทคโนโลยีการ
               พัฒนาที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ.
               กรมพัฒนาที่ดิน.   2559.    “การใชปุยพืชสดบํารุงดินเพื่อเกษตรยั่งยืน.”   [ออนไลน].   เขาถึงไดจาก:
                      http://www.ldd.go.th/Lddwebsite/web_ord/Technical/pdf/P_Technical11002.pdf  สืบคน  1

                      สิงหาคม 2559.
               คณาจารยภาควิชาปฐพีวิทยา. 2548. ปฐพีวิทยาเบื้องตน. คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. พิมพครั้งที่ 10.
                      กรุงเทพฯ. 547 หนา.
               ณัฐหทัย  เอพาณิช.  2547.  การตรวจสอบคุณภาพเมล็ดพันธุ.  สํานักวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพ  กรมวิชาการ

                      เกษตร. กรุงเทพฯ. 77 หนา
               ทรายแกว มีสิน ศันสนีย  จําจด และเบญจวรรณ ฤกษเกษม. 2546. ความหลากหลายทางพันธุกรรมภายในและ
                      ระหวางประชากรของเชื้อพันธุขาวพื้นเมืองไทย . วารสารเกษตร (ฉบับพิเศษ) : 317-326.
               ทรายแกว มีสิน. 2547. โครงสรางความหลากหลายทางพันธุกรรมของเชื้อพันธุขาวพื้นเมืองไทย. วิทยานิพนธวิทยา
                      ศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพืชไร มหาวิทยาลัยเชียงใหม. 142 น.
               ประชา นาคะประเวศ. 2546. การใชปุยพืชสดบํารุงดินเพื่อเกษตรยั่งยืน. วารสารอนุรักษดินและน้ํา 18 : 19-37.

               ศิริพร ภูแพร ประภา ศรีพิจิตต สายัณห ทัดศรี และธานี ศรีวงศชัย . 2553. ความหลากลายทางพันธุกรรมของ
                      กระถินในประเทศไทยโดยใชลักษณะทางสัณฐานวิทยาและลักษณะทางการเกษตร.  วารสารวิทยาศาสตร
                      เกษตร. 41(3/1) (พิเศษ) : 449-452.
               สํานักวิทยาศาสตรเพื่อการพัฒนาที่ดิน. 2547. คูมือการวิเคราะหดิน น้ํา ปุย พืช วัสดุปรับปรุงดิน และการวิเคราะห

                      รับรองมาตรฐานสินคา เลม 1. กรมพัฒนาที่ดิน. 198 หนา
               สิรภัทร บุญปน ตอนภา ผุสดี นริศ ยิ้มแยม กรวรรณ ศรีงาม เบญจวรรณ ฤกษเกษม และศันสนีย จําจด. 2558.
               การประเมินลักษณะประชากรงาขี้มอนพื้นเมืองจากภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย. วารสารแกนเกษตร ปที่ 43
                      ฉบับที่ 2 : 285-296.
   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89