Page 69 - ความหลากหลายทางพันธุกรรม มวลชีวภาพและผลผลิตเมล็ดของเชื้อพันธุ์ปอเทืองไทย Genetic Diversity, Biomass and Seed Yield of Thai Sunn Hemp (Crotalaria juncea L.) Germplasm
P. 69

ห
                                                                                     ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน




                                                                                                        56


               ความสูงปอเทือง (เซนติเมตร) ที่ระยะ 30 วัน

                      พบวาอิทธิพลของเนื้อดินและพันธุมีผลตอความสูงปอเทืองที่ระยะ  30  วัน  โดยพบความแตกตางอยางมี
               นัยสําคัญอยางยิ่งในกลุมเนื้อดินโดยเนื้อดินชนิดหยาบมีความสูงปอเทืองที่ระยะ 30 วัน สูงสุด คือ 63.11 เซ็นติเมตร
               และพบความแตกตางมีนัยสําคัญในแตละสายพันธุโดยสายพันธุที่4 มีความสูงตนปอเทืองที่ระยะ 30 วัน สูงสุด คือ
               41.33 เซ็นติเมตร (ตารางที่ 64)

               ตารางที่ 64 ความสูงปอเทือง (เซนติเมตร) ที่ระยะ 30 วัน

                สายพันธุ (A)              เนื้อดิน (B)
                               ละเอียด     ปานกลาง  หยาบ         เฉลี่ย (สายพันธุ)
                สายพันธุที่1       14.33       25.00     67.66          35.66b

                สายพันธุที่2       13.66       28.33     53.33         31.77cd
                สายพันธุที่3       12.00       18.00     67.66          32.55b
                สายพันธุที่4       16.00       22.00     86.00          41.33a
                สายพันธุที่5       20.00       25.66     42.66          29.44d
                สายพันธุที่6       16.33       27.00     61.33          34.89b
                เฉลี่ย (เนื้อดิน)   15.39c    24.33b     63.11a

               CV (A) = 13.24 % CV (B) = 13.48 %
               คาเฉลี่ยในคอลัมนเดียวกันที่ตามดวยอักษรเหมือนกันไมแตกตางกันที่ระดับความเชื่อมั่น 95% โดยวิธี DMRT
   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74