Page 37 - ความหลากหลายทางพันธุกรรม มวลชีวภาพและผลผลิตเมล็ดของเชื้อพันธุ์ปอเทืองไทย Genetic Diversity, Biomass and Seed Yield of Thai Sunn Hemp (Crotalaria juncea L.) Germplasm
P. 37

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                     ห




                                                                                                        24


               ปริมาณไนโตรเจน ฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมในลําตนและกิ่งกานที่ระยะเก็บเกี่ยว

                      พบวาปริมาณโพแทสเซียมในลําตนและกิ่งกานที่ระยะเก็บเกี่ยวมีความแตกตางอยางมีนัยสําคัญ  โดยสาย
               พันธุที่4  มีปริมาณสูงสุด  สวนปริมาณไนโตรเจนและฟอสฟอรัสในลําตนและกิ่งกานที่ระยะเก็บเกี่ยวไมพบความ
               แตกตางอยางมีนัยสําคัญ (ตารางที่ 13)

               ตารางที่ 13 ปริมาณไนโตรเจน ฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมในลําตนและกิ่งกานที่ระยะเก็บเกี่ยว
                                       ไนโตรเจน(mg/kg)    ฟอสฟอรัส(mg/kg)      โพแทสเซียม(mg/kg)

                สายพันธุที่1                     0.91               0.04                  0.70b
                สายพันธุที่2                     0.93               0.05                  0.67b
                สายพันธุที่3                     0.93               0.05                 0.72ab
                สายพันธุที่4                     1.02               0.05                  0.78a

                สายพันธุที่5                     0.96               0.04                  0.69b
                สายพันธุที่6                     0.86               0.05                  0.68b
                F                                   ns                 ns                      *
                CV (%)                            8.79              16.46                   6.07
               ns     หมายถึง ไมแตกตางกันทางสถิติ

               *      หมายถึง แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญ (P<0.05)
               คาเฉลี่ยในคอลัมนเดียวกันที่ตามดวยอักษรเหมือนกันไมแตกตางกันที่ระดับความเชื่อมั่น 95% โดยวิธี DMRT

               ปริมาณอินทรียวัตถุและธาตุอาหารในดิน

                      ไมพบความแตกตางอยางมีนัยสําคัญในปริมารอินทรียวัตถุและธาตุอาหารในดินในสายพันธุทั้ง 6 สายพันธุ
               (ตารางที่ 14)

               ตารางที่ 14 ปริมาณอินทรียวัตถุและธาตุอาหารในดิน
                                       pH1            OM1 (mg/kg)              P1 (mg/kg)     K1 (mg/kg)

                สายพันธุที่1           4.5                   0.76                 19.00           40.00
                สายพันธุที่2           4.6                   0.83                 13.00           45.00
                สายพันธุที่3          4.58                   0.75                 13.25           40.00
                สายพันธุที่4          4.58                   0.66                 10.25           40.00
                สายพันธุที่5          4.58                   0.76                 12.00           55.00

                สายพันธุที่6             5                   0.93                 12.50           37.50
                F                        ns                    ns                     ns              ns
                CV (%)                 9.21                  33.81                 51.07           25.96
               ns     หมายถึง ไมแตกตางกันทางสถิติ
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42