Page 46 - ผลการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ร่วมกับปูนโดโลไมท์ต่อการเจริญเติบโตของปาล์มน้ำมันในพื้น ที่ดินเปรี้ยวจัด จังหวัดพัทลุง Effect of using organic fertilizer together with dolomite for growth on oil plam in acid sulfate soil at Phattalung province
P. 46

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน




                                                   ปริมาณไนโตรเจนทั้งหมดในใบปาลมน้ํามัน (Total N)
                               ตํารับ                                 (g/kg)
                                         กอนการทดลอง         ปที่ 1          ปที่ 2         ปที่ 3
                           F-test              ns              ns                *               *

                           CV.(%)             8.08             7.00            7.89            17.89
                      หมายเหตุ: ns  ไมมีความแตกตางกันทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 95 %
                              *  มีความแตกตางกันทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 95 เปอรเซ็นต
                              1/ คาเฉลี่ยที่กํากับดวยตัวอักษรที่ตางกันในคอลัมนเดียวกันมีความแตกตางกันทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 95 % โดยวิธี DMRT

                                    3.2 ฟอสฟอรัสทั้งหมด (Total P) ผลวิเคราะหตัวอยางใบกอนการทดลอง พบวา ปริมาณ

                      ฟอสฟอรัสทั้งหมดในใบปาลมน้ํามันทุกตํารับมีคาไมแตกตางกันทางสถิติ โดยกอนดําเนินการทุกตํารับอยูใน
                      ระดับขาดแคลน (Critical level) มีคาเฉลี่ย 1.13 กรัมตอกิโลกรัม หลังดําเนินการทดลองในปที่ 1 ปที่ 2 และป
                      ที่ 3 ปริมาณฟอสฟอรัสในใบปาลมน้ํามันมีแนวโนมเพิ่มขึ้นทุกตํารับ โดยหลังการทดลองปที่ 1 ปริมาณ
                      ฟอสฟอรัสทั้งหมดในใบปาลมน้ํามันมีคาไมแตกตางกันทางสถิติ มีคาเฉลี่ยเทากับ 1.48 กรัมตอกิโลกรัม ซึ่งอยู
                      ในระดับขาดแคลน (Critical level) ยกเวนตํารับที่ 6 ที่การใสโดโลไมทตามคาความตองการปูน (LR) รวมกับ
                      การใสปุยเคมีอัตราครึ่งหนึ่งตามคาวิเคราะหดิน และใสปุยชีวภาพ พด.12 ตํารับที่ 7 การใสโดโลไมทตามคา
                      ความตองการปูน (LR) รวมกับการใสปุยเคมีอัตราครึ่งหนึ่งตามคาวิเคราะหดิน และใสปุยอินทรียที่ขยายเชื้อ
                      ดวยจุลินทรียซุปเปอร พด.9 ตํารับที่ 8 การใสโดโลไมทตามคาความตองการปูน (LR) รวมกับการใสมูลไกแกลบ
                      น้ําหมักชีวภาพ พด.2 และปุยชีวภาพ พด.12 และตํารับที่ 9 การใสโดโลไมทตามคาความตองการปูน (LR)

                      รวมกับการใสมูลไกแกลบ น้ําหมักชีวภาพ พด.2 และปุยอินทรียที่ขยายเชื้อดวยจุลินทรียซุปเปอร พด.9 มี
                      ปริมาณฟอสฟอรัสทั้งหมดในใบปาลมน้ํามันอยูในชวงที่เหมาะสม (Sufficient) มีคาเฉลี่ยเทากับ 1.51, 1.64,
                      1.55 และ 1.73 กรัมตอกิโลกรัม ตามลําดับ เชนเดียวกับหลังดําเนินการทดลองปที่ 2 ปริมาณฟอสฟอรัส
                      ทั้งหมดในใบปาลมน้ํามันมีคาไมแตกตางกันทางสถิติ มีคาเฉลี่ยเทากับ 1.65 กรัมตอกิโลกรัม ซึ่งอยูในระดับที่
                      เหมาะสม (Sufficient) สําหรับการเจริญเติบโต ยกเวนตํารับที่ 1 การใสปุยตามวิธีเกษตรกร มีปริมาณ
                      ฟอสฟอรัสทั้งหมดในใบปาลมน้ํามันอยูในระดับที่ขาดแคลน (Critical level) มีคาเฉลี่ยเทากับ 1.46 กรัมตอ
                      กิโลกรัม ตามลําดับ สวนหลังการทดลองในปที่ 3 พบวา ปริมาณฟอสฟอรัสในใบปาลมน้ํามันมีคาแตกตางกัน

                      อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ และอยูในระดับที่เหมาะสม (Sufficient) สําหรับการเจริญเติบโตทุกตํารับการทดลอง
                      โดยตํารับที่ 7 การใสโดโลไมทตามคาความตองการปูน (LR) รวมกับการใสปุยเคมีอัตราครึ่งหนึ่งตามคา
                      วิเคราะหดิน และใสปุยอินทรียที่ขยายเชื้อดวยจุลินทรียซุปเปอร พด.9 มีปริมาณฟอสฟอรัสในใบปาลมน้ํามันสูง
                      ที่สุด มีคาเฉลี่ยเทากับ 2.38 กรัมตอกิโลกรัม รองลงมาคือ ตํารับที่ 8 การใสโดโลไมทตามคาความตองการปูน
                      (LR) รวมกับการใสมูลไกแกลบ น้ําหมักชีวภาพ พด.2 และปุยชีวภาพ พด.12 ตํารับที่ 4 การใสโดโลไมทตามคา
                      ความตองการปูน (LR) รวมกับการใสปุยเคมีอัตราครึ่งหนึ่งตามคําแนะนําของกรมวิชาการเกษตร และใสปุย
                      ชีวภาพ พด.12 ตํารับที่ 6 การใสโดโลไมทตามคาความตองการปูน (LR) รวมกับการใสปุยเคมีอัตราครึ่งหนึ่ง
                      ตามคาวิเคราะหดิน และใสปุยชีวภาพ พด.12 และตํารับที่ 9 การใสโดโลไมทตามคาความตองการปูน (LR)

                      รวมกับการใสมูลไกแกลบ น้ําหมักชีวภาพ พด.2 และปุยอินทรียที่ขยายเชื้อดวยจุลินทรียซ ุปเปอร พด.9 มี
                      ปริมาณฟอสฟอรัสทั้งหมดในใบปาลมน้ํามันเฉลี่ยเทากับ 2.34, 2.33, 2.20 และ 2.14 กรัมตอกิโลกรัม
                      ตามลําดับ สวนตํารับที่ 1 การใสปุยตามวิธีเกษตรกร มีปริมาณฟอสฟอรัสทั้งหมดในใบปาลมน้ํามันต่ําที่สุด มี
                      คาเฉลี่ยเทากับ 1.79 กรัมตอกิโลกรัม (ภาพที่ 12 และตารางที่ 18)





                                                                                                         37
   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51