Page 37 - การศึกษาประสิทธิภาพของผลิตภัณฑปุ๋ยชีวภาพสำหรับนาข้าวต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตข้าว กข 41 จังหวัดพิษณุโลก Study efficiency of bio-fertilizer to increase growth and rice (Ko Kho 41) yield in Phitsanulok Province
P. 37

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน






                                                                                                        29


                                                     สรุปผลการทดลอง


               การทดลองป 2561
                      1. ตําหรับการทดลองที่ 2 การใสปุยตามคาวิเคราะหดินขาว กข 41 จะแสดงลักษณะที่โดดเดนมากที่สุด
               ตามดวยตําหรับการทดลองที่ 5 ใชผลิตภัณฑปุยชีวภาพสําหรับนาขาวรูปแบบน้ํา + ปุยเคมี 70% และ 8 ใช
               ผลิตภัณฑปุยชีวภาพสําหรับนาขาวรูปแบบผง + ปุยเคมี 70% เมื่อพิจารณาตําหรับที่ 5 และ 8 สามารถลดการใส
               ปุยได 30 เปอรเซ็นต ลักษณะคุณภาพขาว กข 41 ไมแตกตางจากตําหรับดีเดนมากนัก

                      2. ปริมาณผลผลิตขาวพบวาไมแตกตางกันทุกตําหรับ แตการใชปุยชีวภาพทุกรูปแบบและทุกอัตรามี
               แนวโนมเพิ่มผลผลิตขาว กข 41
                      3. ปุยชีวภาพรูปแบบน้ําและรูปแบบผง ใหผลตอการแสดงออกของขาว กข 41 ไมแตกตางกัน
               การทดลองป 2562

                      1. ตําหรับการทดลองที่ 2 การใสปุยตามคาวิเคราะหดิน และตําหรับการทดลองที่ 5 ใชผลิตภัณฑปุย
               ชีวภาพสําหรับนาขาวรูปแบบน้ํา + ปุยเคมี 70% กข 41 จะแสดงลักษณะที่โดดเดนมากที่สุด ตามดวยการแสดงผล
               ในตําหรับที่ 8 ใชผลิตภัณฑปุยชีวภาพสําหรับนาขาวรูปแบบผง + ปุยเคมี 70%
                      2. ปริมาณผลผลผลิตพบวาตําหรับที่ 5 ใชผลิตภัณฑปุยชีวภาพสําหรับนาขาวรูปแบบน้ํา + ปุยเคมี 70%
               และตําหรับที่ 8 ใชผลิตภัณฑปุยชีวภาพสําหรับนาขาวรูปแบบผง + ปุยเคมี 70% ใหผลผลิตเหนือกวาทุกตําหรับ
               การทดลอง

                      3. ปุยชีวภาพรูปแบบน้ํามีแนวโนมใหผลตอการแสดงออกของขาว กข 41 ดีกวารูปแบบผง
               การทดลองป 2563
                      ลักษณะปริมาณและคุณภาพขาว กข 41 ไมมีผลแตกตางกันทางสถิติ ยกเวนน้ําหนัก 1000 เมล็ด แสดงให
               เห็นวาการพักแปลง สามารถชวยใหขาวแสดงลักษณะประจําพันธุออกมาไดอยางเต็มที่ และเปนที่นาสังเกตได คือ

               เมือเพื่อตําหรับการทดลองเขาไป ปริมาณผลผลิตขาวจะมีแนวโนมที่ลดลง

                                                      ประโยชนที่ไดรับ

               11.1 ไดองคความรูใหมในการจัดการดินเพื่อเพิ่มผลผลิตขาวและลดตนทุนการผลิต
               11.2 ไดทางเลือกแกเกษตรกรที่ตองการลดตนทุนการผลิตขาว โดยไมมีผลกระทบตอผลผลิต

               11.3 ไดแนวทางการพัฒนาเพื่อเพิ่มศักยภาพการผลิตขาว
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42