Page 198 - แผนที่ความเหมาะสมของที่ดินสำหรับการปลูกพืชสมุนไพร กระชายเหลือง กระวาน ข่า ขิง คำฝอย ตะไคร้ พริกไทย ฟ้าทะลายโจร และว่านชักมดลูก
P. 198

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน








                                                         บทที่ 5



                                                 สรุปและข้อเสนอแนะ



                  5.1  สรุปความเหมาะสมของที่ดินสําหรับพืชสมุนไพร


                        1)  กระชายเหลือง

                          พื้นที่ที่มีความเหมาะสมสูง (S1)  ส่วนมากอยู่ในภาคเหนือ  ภาคกลาง และภาค

                  ตะวันออกเฉียงเหนือ ตามลําดับ โดยสามารถเจริญเติบโตได้ดีในดินร่วนปนทราย ไม่ทนต่อสภาพนํ้า
                  ขังในดิน ซึ่งอาจทําให้เกิดการเน่า และการสะสมโรค เมื่อปลูกในดินตื้น ดินลูกรัง สภาพความเป็นกรด

                  ด่าง (pH) ของดินที่เป็นกรดด่างมากเกินไป และพื้นที่ที่มีการชะล้างพังทลายสูง จะมีผลกระทบต่อการ

                  เจริญเติบโต

                        2)  กระวาน

                          พื้นที่ที่มีความเหมาะสมสูง (S1) ส่วนมากอยู่ในภาคใต้ และภาคตะวันออก ตามลําดับ โดย

                  สามารถเจริญเติบโตได้ดีในดินร่วนปนทราย ไม่ทนต่อสภาพนํ้าขังในดิน ซึ่งอาจทําให้เกิดการเน่า และ
                  การสะสมโรค เมื่อปลูกในดินตื้น ดินลูกรัง สภาพความเป็นกรดด่าง (pH) ของดินที่เป็นกรดด่างมาก

                  เกินไป และพื้นที่ที่มีการชะล้างพังทลายสูง จะมีผลกระทบต่อการเจริญเติบโต


                        3)  ข่า
                          พื้นที่ที่มีความเหมาะสมสูง (S1)  ส่วนมากอยู่ในภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

                  ตามลําดับ โดยสามารถเจริญเติบโตได้ดีในดินร่วนปนทราย ไม่ทนต่อสภาพนํ้าขังในดิน ซึ่งอาจทําให้

                  เกิดการเน่า และการสะสมโรค เมื่อปลูกในดินตื้น ดินลูกรัง สภาพความเป็นกรดด่าง (pH) ของดินที่
                  เป็นกรดด่างมากเกินไป และพื้นที่ที่มีการชะล้างพังทลายสูง จะมีผลกระทบต่อการเจริญเติบโต


                        4)  ขิง

                          พื้นที่ที่มีความเหมาะสมสูง (S1)  ส่วนมากอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ  และภาคเหนือ
                  ตามลําดับ โดยสามารถเจริญเติบโตได้ดีในดินร่วนปนทราย ไม่ทนต่อสภาพนํ้าขังในดิน ซึ่งอาจทําให้

                  เกิดการเน่า และการสะสมโรค เมื่อปลูกในดินตื้น ดินลูกรัง สภาพความเป็นกรดด่าง (pH) ของดินที่

                  เป็นกรดด่างมากเกินไป และพื้นที่ที่มีการชะล้างพังทลายสูง จะมีผลกระทบต่อการเจริญเติบโต









                  แผนที่ความเหมาะสมของที่ดินสําหรับการปลูกพืชสมุนไพร
                  กระชายเหลือง กระวาน ข่า ขิง คําฝอย ตะไคร้ บุก พริกไทย ฟ้าทะลายโจร และว่านชักมดลูก   กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน
   193   194   195   196   197   198   199   200   201   202   203