Page 87 - แผนที่ความเหมาะสมของที่ดินสำหรับการปลูกพืชสมุนไพร กระเจี๊ยบแดง เก็กฮวย ดีปลี บอระเพ็ด พญายอ เพชรสังฆาต มะระขี้นก มะลิ มะแว้งเครือ และมะแว้งต้น
P. 87

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                            4-23




                     4.3  ดีปลี
                           จากการวิเคราะหขอมูลเนื้อที่ความเหมาะสมของที่ดินสําหรับดีปลี มีรายละเอียดดังนี้ ประเทศ

                     ไทยมีเนื้อที่ที่มีความเหมาะสมทางกายภาพของที่ดินสําหรับการปลูกดีปลีรวมทั้งสิ้น 115,479,241 ไร

                     ซึ่งไดแสดงเปนแผนที่ความเหมาะสมของที่ดินสําหรับดีปลี โดยมีรายละเอียดความเหมาะสมของที่ดิน
                     สําหรับการปลูกดีปลีแบงเปน 3 ชั้นดังนี้ (ตารางที่ 4-5 และ 4-6 และรูปที่ 4-11 ถึง 4-16)

                           1) เนื้อที่ที่มีความเหมาะสมสูง (S1) ประเทศไทยมีเนื้อที่ที่มีความเหมาะสมสูง รวมทั้งสิ้น

                     415,574 ไร หรือรอยละ 0.36        ของเนื้อที่ที่มีความเหมาะสมทั้งประเทศ แบงเปน
                     ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีเนื้อที่ 34,707 ไร  หรือรอยละ 8.35 ของเนื้อที่ที่มีความเหมาะสมสูงทั้ง

                     ประเทศ ภาคตะวันออก มีเนื้อที่ 364,736 ไร หรือรอยละ 87.77 ของเนื้อที่ที่มีความเหมาะสมสูงทั้ง

                     ประเทศ และภาคใต มีเนื้อที่ 16,131ไร หรือรอย  3.88 ของเนื้อที่ที่มีความเหมาะสมสูงทั้งประเทศ
                           จังหวัด 3 ลําดับแรกที่มีพื้นที่ความเหมาะสมสูงในการปลูกดีปลี ไดแก จังหวัดสระแกว

                     จันทบุรี และเลย คิดเปนรอยละ 71.23 8.61 และ 8.35 ของพื้นที่ที่มีความเหมาะสมสูงทั้งประเทศ
                     ตามลําดับ

                           2) เนื้อที่ที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) ประเทศไทยมีเนื้อที่ที่มีความเหมาะสม

                     ปานกลาง  รวมทั้งสิ้น 93,257,397 ไร หรือรอยละ 80.76 ของเนื้อที่ที่มีความเหมาะสมทั้งประเทศ
                     แบงเปน ภาคเหนือ มีเนื้อที่ 17,047,937 ไร หรือรอยละ 18.28 ของเนื้อที่ที่มีความเหมาะสม

                     ปานกลางทั้งประเทศ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีเนื้อที่ 39,772,442 ไร หรือรอยละ 42.65
                     ของเนื้อที่ที่มีความเหมาะสมปานกลางทั้งประเทศ ภาคกลาง มีเนื้อที่ 12,125,767 ไร หรือรอยละ

                     13.00 ของเนื้อที่ที่มีความเหมาะสมปานกลางทั้งประเทศ ภาคตะวันออก มีเนื้อที่ 9,122,637 ไร

                     หรือรอยละ 9.78 ของเนื้อที่ที่มีความเหมาะสมปานกลางทั้งประเทศ และภาคใต มีเนื้อที่
                     15,188,614 ไร หรือรอยละ 16.29 ของเนื้อที่ที่มีความเหมาะสมปานกลางทั้งประเทศ

                           จังหวัด 3 ลําดับแรกที่มีพื้นที่ความเหมาะสมปานกลางในการปลูกดีปลี ไดแก จังหวัด

                     อุบลราชธานี กาญจนบุรี และสุราษฏรธานี คิดเปนรอยละ 3.85 3.49 และ 3.46 ของพื้นที่ที่มีความ
                     เหมาะสมปานกลางทั้งประเทศตามลําดับ

                           3) เนื้อที่ที่มีความเหมาะสมเล็กนอย (S3) ประเทศไทยมีเนื้อที่ที่มีความเหมาะสมเล็กนอย
                     รวมทั้งสิ้น 21,806,270 ไร หรือรอยละ 18.88 ของเนื้อที่ที่มีความเหมาะสมทั้งประเทศ แบงเปน

                     ภาคเหนือ มีเนื้อที่ 10,173,977 ไร  หรือรอยละ 46.66 ของเนื้อที่ที่มีความเหมาะสมเล็กนอยทั้ง

                     ประเทศ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีเนื้อที่ 2,436,060 ไร  หรือรอยละ 11.17 ของเนื้อที่ที่มีความ
                     เหมาะสมเล็กนอยทั้งประเทศ ภาคกลาง มีเนื้อที่ 2,499,381 ไร  หรือรอยละ 11.46 ของเนื้อที่ที่มี

                     ความเหมาะสมเล็กนอยทั้งประเทศ ภาคตะวันออก มีเนื้อที่ 2,540,207 ไร  หรือรอยละ 11.65







                     แผนที่ความเหมาะสมของที่ดินสําหรับการปลูกพืชสมุนไพร
                     กระเจี๊ยบแดง เกกฮวย ดีปลี บอระเพ็ด พญายอ เพชรสังฆาต มะระขี้นก มะลิ มะแวงเครือ และมะแวงตน   กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92