Page 78 - แผนที่ความเหมาะสมของที่ดินสำหรับการปลูกพืชสมุนไพร กระเจี๊ยบแดง เก็กฮวย ดีปลี บอระเพ็ด พญายอ เพชรสังฆาต มะระขี้นก มะลิ มะแว้งเครือ และมะแว้งต้น
P. 78

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                            4-14




                     4.2  เกกฮวย
                           จากการวิเคราะหขอมูลเนื้อที่ความเหมาะสมของที่ดินสําหรับเกกฮวย มีรายละเอียดดังนี้

                     ประเทศไทยมีเนื้อที่ที่มีความเหมาะสมทางกายภาพของที่ดินสําหรับการปลูกเกกฮวย รวมทั้งสิ้น

                     14,576,482 ไร ซึ่งไดแสดงเปนแผนที่ความเหมาะสมของที่ดินสําหรับเกกฮวย โดยมีรายละเอียด
                     ความเหมาะสมของที่ดินสําหรับการปลูกเกกฮวย แบงเปน 2 ชั้น ดังนี้ (ตารางที่ 4-3 และ 4-4 และรูปที่

                     4-7  ถึง 4-10)

                           1)  เนื้อที่ที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) ประเทศไทยมีเนื้อที่ที่มีความเหมาะสม
                     ปานกลางรวมทั้งสิ้น 8,174,781 ไร หรือรอยละ 56.08 ของเนื้อที่ที่มีความเหมาะสมทั้งประเทศ

                     แบงเปน ภาคเหนือ มีเนื้อที่  5,904,106 ไร หรือรอยละ 72.22 ของเนื้อที่ที่มีความเหมาะสม

                     ปานกลางทั้งประเทศ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีเนื้อที่ 2,179,228 ไร หรือรอยละ 26.66
                     ของเนื้อที่ที่มีความเหมาะสมปานกลางทั้งประเทศ และภาคกลาง มีเนื้อที่ 91,447 ไร หรือรอยละ

                     1.12 ของเนื้อที่ที่มีความเหมาะสมปานกลางทั้งประเทศ
                          จังหวัด 3  ลําดับแรกที่พื้นที่มีความเหมาะสมปานกลางในการปลูกเกกฮวย ไดแก จังหวัด

                     เชียงใหม เลย และเชียงราย คิดเปนรอยละ 19.21 16.10 และ 12.74 ของพื้นที่ที่มีความเหมาะสม

                     ปานกลางทั้งประเทศ ตามลําดับ
                           2)  เนื้อที่ที่มีความเหมาะสมเล็กนอย (S3) ประเทศไทยมีเนื้อที่ที่มีความเหมาะสมเล็กนอย

                     รวมทั้งสิ้น 6,401,701 ไร หรือรอยละ 43.92 ของเนื้อที่ที่มีความเหมาะสมทั้งประเทศ แบงเปน
                     ภาคเหนือ มีเนื้อที่ 5,397,566 ไร หรือรอยละ 84.31 ของเนื้อที่ที่มีความเหมาะสมเล็กนอย

                     ทั้งประเทศ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีเนื้อที่ 1,000,467 ไร หรือรอยละ 15.63 ของเนื้อที่ที่มีความ

                     เหมาะสมเล็กนอยทั้งประเทศ และภาคกลาง มีเนื้อที่ 3,668 ไร หรือรอยละ 0.06 ของเนื้อที่ที่มีความ
                     เหมาะสมเล็กนอยทั้งประเทศ

                           จังหวัด 3 ลําดับแรกที่พื้นที่มีความเหมาะสมเล็กนอยในการปลูกเกกฮวย ไดแก จังหวัดลําปาง

                     เชียงใหม และเชียงราย คิดเปนรอยละ 22.45 13.71  และ 12.06  ของพื้นที่ที่มีความเหมาะสม
                     เล็กนอยทั้งประเทศ ตามลําดับ





















                     แผนที่ความเหมาะสมของที่ดินสําหรับการปลูกพืชสมุนไพร
                     กระเจี๊ยบแดง เกกฮวย ดีปลี บอระเพ็ด พญายอ เพชรสังฆาต มะระขี้นก มะลิ มะแวงเครือ และมะแวงตน   กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83