Page 65 - แผนที่ความเหมาะสมของที่ดินสำหรับการปลูกพืชสมุนไพร กระเจี๊ยบแดง เก็กฮวย ดีปลี บอระเพ็ด พญายอ เพชรสังฆาต มะระขี้นก มะลิ มะแว้งเครือ และมะแว้งต้น
P. 65

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                             4-1






                                                          บทที่ 4

                                   แผนที่ความเหมาะสมของที่ดินสําหรับพืชสมุนไพร



                     4.1  กระเจี๊ยบแดง

                           จากการวิเคราะหขอมูลเนื้อที่ความเหมาะสมของที่ดินสําหรับกระเจี๊ยบแดง มีรายละเอียดดังนี้

                     ประเทศไทยมีเนื้อที่ที่มีความเหมาะสมทางกายภาพของที่ดินสําหรับการปลูกกระเจี๊ยบแดงรวมทั้งสิ้น

                     111,611,937  ไร ซึ่งไดแสดงเปนแผนที่ความเหมาะสมของที่ดินสําหรับกระเจี๊ยบแดง โดยมีรายละเอียด
                     ความเหมาะสมของที่ดินสําหรับการปลูกกระเจี๊ยบแดงแบงเปน 3 ชั้นดังนี้ (ตารางที่ 4-1 และ 4-2 และ

                     รูปที่ 4-1 ถึง 4-6)
                           1) เนื้อที่ที่มีความเหมาะสมสูง (S1) ประเทศไทยมีเนื้อที่ที่มีความเหมาะสมสูง รวมทั้งสิ้น

                     2,471,834 ไร หรือรอยละ 2.21  ของเนื้อที่ที่มีความเหมาะสมทั้งประเทศ แบงเปน ภาคเหนือ

                     มีเนื้อที่ 1,028,611 ไร หรือรอยละ 41.61 ของเนื้อที่ที่มีความเหมาะสมสูงทั้งประเทศ
                     ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีเนื้อที่ 149,623 ไร  หรือรอยละ 6.05 ของเนื้อที่ที่มีความเหมาะสมสูง

                     ทั้งประเทศ ภาคกลาง มีเนื้อที่ 980,066 ไร หรือรอยละ 39.65 ของเนื้อที่ที่มีความเหมาะสมสูง

                     ทั้งประเทศ ภาคตะวันออก มีเนื้อที่ 23,578  ไร หรือรอยละ 0.95 ของเนื้อที่ที่มีความเหมาะสมสูง
                     ทั้งประเทศ และภาคใต มีเนื้อที่ 289,956  ไร หรือรอย 11.73 ของเนื้อที่ที่มีความเหมาะสมสูง

                     ทั้งประเทศ ประเทศ
                           จังหวัด 3 ลําดับแรกที่มีพื้นที่ความเหมาะสมสูงในการปลูกกระเจี๊ยบแดง ไดแก จังหวัด

                     สมุทรสาคร ราชบุรี และนครปฐม คิดเปนรอยละ 10.70 9.11 และ 8.82 ของพื้นที่ที่มีความ

                     เหมาะสมสูงทั้งประเทศตามลําดับ
                           2) เนื้อที่ที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) ประเทศไทยมีเนื้อที่ที่มีความเหมาะสม

                     ปานกลาง  รวมทั้งสิ้น 80,154,027 ไร หรือรอยละ 71.81 ของเนื้อที่ที่มีความเหมาะสมทั้งประเทศ
                     แบงเปน ภาคเหนือ มีเนื้อที่ 14,706,438 ไร หรือรอยละ 18.35 ของเนื้อที่ที่มีความเหมาะสม

                     ปานกลางทั้งประเทศ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีเนื้อที่ 34,153,252 ไร หรือรอยละ 42.61

                     ของเนื้อที่ที่มีความเหมาะสมปานกลางทั้งประเทศ ภาคกลาง มีเนื้อที่ 9,717,207 ไร หรือรอยละ
                     12.12 ของเนื้อที่ที่มีความเหมาะสมปานกลางทั้งประเทศ ภาคตะวันออก มีเนื้อที่ 6,466,795 ไร

                     หรือรอยละ 8.07 ของเนื้อที่ที่มีความเหมาะสมปานกลางทั้งประเทศ และภาคใต มีเนื้อที่

                     15,110,335 ไร หรือรอยละ 18.85 ของเนื้อที่ที่มีความเหมาะสมปานกลางทั้งประเทศ
                           จังหวัด 3 ลําดับแรกที่มีพื้นที่ความเหมาะสมปานกลางในการปลูกกระเจี๊ยบแดง ไดแก จังหวัด

                     นครราชสีมา สุราษฏรธานี และอุบลราชธานี คิดเปนรอยละ 6.83 4.42 และ 4.02 ของพื้นที่ที่มี

                     ความเหมาะสมปานกลางทั้งประเทศตามลําดับ



                     แผนที่ความเหมาะสมของที่ดินสําหรับการปลูกพืชสมุนไพร
                     กระเจี๊ยบแดง เกกฮวย ดีปลี บอระเพ็ด พญายอ เพชรสังฆาต มะระขี้นก มะลิ มะแวงเครือ และมะแวงตน   กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70