Page 192 - แผนที่ความเหมาะสมของที่ดินสำหรับการปลูกพืชสมุนไพร กระเจี๊ยบแดง เก็กฮวย ดีปลี บอระเพ็ด พญายอ เพชรสังฆาต มะระขี้นก มะลิ มะแว้งเครือ และมะแว้งต้น
P. 192

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                           5-2





                        5) พญายอ

                          พื้นที่ที่มีความเหมาะสมสูง (S1)  สวนมากอยูในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง และ

                  ภาคเหนือ ตามลําดับ โดยสามารถเจริญเติบโตไดดีในดินรวนปนทราย ไมทนตอสภาพน้ําขังในดิน ซึ่งอาจ
                  ทําใหเกิดการเนา และการสะสมโรค เมื่อปลูกในดินตื้น ดินลูกรัง สภาพความเปนกรดดาง (pH) ของดิน

                  ที่เปนกรดดางมากเกินไป และพื้นที่ที่มีการชะลางพังทลายสูง จะมีผลกระทบตอการเจริญเติบโต

                        6) เพชรสังฆาต

                          พื้นที่ที่มีความเหมาะสมสูง (S1) สวนมากอยูในภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาค

                  กลาง ตามลําดับ โดยสามารถเจริญเติบโตไดดีในดินรวนปนทราย ไมทนตอสภาพน้ําขังในดิน ซึ่งอาจทํา
                  ใหเกิดการเนา และการสะสมโรค เมื่อปลูกในดินตื้น ดินลูกรัง สภาพความเปนกรดดาง (pH) ของดินที่

                  เปนกรดดางมากเกินไป และพื้นที่ที่มีการชะลางพังทลายสูง จะมีผลกระทบตอการเจริญเติบโต

                        7) มะระขี้นก

                          พื้นที่ที่มีความเหมาะสมสูง (S1) สวนมากอยูในภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาค
                  กลาง ตามลําดับ โดยสามารถเจริญเติบโตไดดีในดินรวนปนทราย ไมทนตอสภาพน้ําขังในดิน ซึ่งอาจทํา

                  ใหเกิดการเนา และการสะสมโรค เมื่อปลูกในดินตื้น ดินลูกรัง สภาพความเปนกรดดาง (pH) ของดินที่

                  เปนกรดดางมากเกินไป และพื้นที่ที่มีการชะลางพังทลายสูง จะมีผลกระทบตอการเจริญเติบโต

                        8) มะลิ

                          พื้นที่ที่มีความเหมาะสมสูง (S1)  สวนมากอยูในภาคใต  และภาคตะวันออก ตามลําดับ โดย
                  สามารถเจริญเติบโตไดดีในดินรวนปนทราย ไมทนตอสภาพน้ําขังในดิน สภาพความเปนกรดดาง (pH)

                  ของดินที่เปนกรดดางมากเกินไป และพื้นที่ที่มีการชะลางพังทลายสูง จะมีผลกระทบตอการเจริญเติบโต

                        9) มะแวงเครือ

                          พื้นที่ที่มีความเหมาะสมสูง (S1)  สวนมากอยูในภาคตะวันออก และภาคใต ตามลําดับ โดย
                  สามารถเจริญเติบโตไดดีในดินรวนปนทราย ระบายน้ําไดดีแตไมทนตอสภาพน้ําขังในดิน ซึ่งอาจทําให

                  เกิดการเนา สภาพความเปนกรดดาง (pH) ของดินที่เปนกรดดางมากเกินไป และพื้นที่ที่มีการชะลาง

                  พังทลายสูง จะมีผลกระทบตอการเจริญเติบโต

                        10) มะแวงตน

                          พื้นที่ที่มีความเหมาะสมสูง (S1) สวนมากอยูในภาคตะวันออก และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
                  ตามลําดับ โดยสามารถเจริญเติบโตไดดีในดินรวน เปนสมุนไพรที่ตองการน้ํามาก ระบายน้ําไดดี แตไม

                  ทนตอสภาพน้ําขังในดิน ซึ่งอาจทําใหเกิดการเนา สภาพความเปนกรดดาง (pH) ของดินที่เปนกรดดาง

                  มากเกินไป และพื้นที่ที่มีการชะลางพังทลายสูง จะมีผลกระทบตอการเจริญเติบโต



                  แผนที่ความเหมาะสมของที่ดินสําหรับการปลูกพืชสมุนไพร
                  กระเจี๊ยบแดง เกกฮวย ดีปลี บอระเพ็ด พญายอ เพชรสังฆาต มะระขี้นก มะลิ มะแวงเครือ และมะแวงตน   กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   187   188   189   190   191   192   193   194   195   196   197