Page 178 - แผนที่ความเหมาะสมของที่ดินสำหรับการปลูกพืชสมุนไพร กระเจี๊ยบแดง เก็กฮวย ดีปลี บอระเพ็ด พญายอ เพชรสังฆาต มะระขี้นก มะลิ มะแว้งเครือ และมะแว้งต้น
P. 178

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                            4-114






                     4.10  มะแวงตน
                            จากการวิเคราะหขอมูลพื้นที่ความเหมาะสมของที่ดินสําหรับมะแวงตน มีรายระเอียดดังนี้

                     ประเทศไทยมีพื้นที่ที่มีความเหมาะสมทางกายภาพของที่ดินสําหรับการปลูกมะแวงตนพื้นที่

                     121,386,988 ไร ซึ่งไดแสดงเปนแผนที่ความเหมาะสมของที่ดินสําหรับมะแวงตน โดยมีรายละเอียด
                     ความเหมาะสมของที่ดินกับการปลูกมะแวงตนแบงเปน 3 ชั้นดังนี้ (ตารางที่ 4-19 และ 4-20 และ

                     ภาพที่ 4-53 ถึง 4-58)

                            1) พื้นที่ที่มีความเหมาะสมสูง (S1)  ประเทศไทยมีพื้นที่ที่มีความเหมาะสมสูง รวมทั้งสิ้น
                     320,246 ไร หรือรอยละ 0.26 ของพื้นที่ที่มีความเหมาะสมทั้งประเทศ แบงเปน

                     ภาคเหนือ มีพื้นที่ 429 ไร หรือรอยละ 0.13   ของพื้นที่ที่มีความเหมาะสมสูงทั้งประเทศ

                     ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีพื้นที่ 4,818  ไร หรือรอยละ 1.51 ของพื้นที่ที่มีความเหมาะสมสูง
                     ทั้งประเทศ ภาคกลาง มีพื้นที่ 2,010 ไร หรือรอยละ 0.63 ของพื้นที่ที่มีความเหมาะสมสูงทั้งประเทศ

                     และภาคตะวันออก มีพื้นที่ 312,989 ไร หรือรอยละ 97.73 ของพื้นที่ที่มีความเหมาะสมสูง
                     ทั้งประเทศ

                             จังหวัด 3 ลําดับแรกที่พื้นที่มีความเหมาะสมสูงในการปลูกมะแวงตน ไดแก จังหวัดจันทบุรี

                     สระแกว และนครพนม คิดเปนรอยละ 69.91 25.98 และ 1.51 ของพื้นที่ที่มีความเหมาะสมสูงทั้ง
                     ประเทศ ตามลําดับ

                            2) พื้นที่ที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2)  ประเทศไทยมีพื้นที่ที่มีความเหมาะสม
                     ปานกลาง รวมทั้งสิ้น 94,506,717  ไร หรือรอยละ 77.86 ของพื้นที่ที่มีความเหมาะสมทั้งประเทศ

                     แบงเปน ภาคเหนือ มีพื้นที่ 20,280,489  ไร หรือรอยละ 21.46 ของพื้นที่ที่มีความเหมาะสม

                     ปานกลางทั้งประเทศ  ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีพื้นที่ 52,765,378 ไร หรือรอยละ 55.83
                     ของพื้นที่ที่มีความเหมาะสมปานกลางทั้งประเทศ ภาคกลาง มีพื้นที่ 4,469,851 ไร หรือรอยละ 4.73

                     ของพื้นที่ที่มีความเหมาะสมปานกลางทั้งประเทศ ภาคตะวันออก มีพื้นที่ 7,921,980 ไร หรือรอยละ

                     8.38   ของพื้นที่ที่มีความเหมาะสมปานกลางทั้งประเทศ และภาคใต มีพื้นที่ 9,069,019 ไร หรือ
                     รอยละ 9.60 ของพื้นที่ที่มีความเหมาะสมปานกลางทั้งประเทศ

                            จังหวัด 3 ลําดับแรกที่พื้นที่มีความเหมาะสมปานกลางในการปลูกมะแวงตน ไดแก จังหวัด
                     นครราชสีมา อุบลราชธานี และขอนแกน คิดเปนรอยละ 7.06 5.64 และ 4.16 ของพื้นที่ที่มีความ

                     เหมาะสมปานกลางทั้งประเทศ ตามลําดับ

                             3) พื้นที่ที่มีความเหมาะสมเล็กนอย (S3) ประเทศไทยมีพื้นที่ที่มีความเหมาะสมเล็กนอย
                     รวมทั้งสิ้น 26,560,025 ไร หรือรอยละ 21.88 ของพื้นที่ที่มีความเหมาะสมทั้งประเทศ แบงเปน

                     ภาคเหนือ มีพื้นที่ 7,631,844 ไร หรือรอยละ 28.73 ของพื้นที่ที่มีความเหมาะสมเล็กนอยทั้งประเทศ
                     ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีพื้นที่ 6,081,333  ไร หรือรอยละ 22.90 ของพื้นที่ที่มีความเหมาะสม





                     แผนที่ความเหมาะสมของที่ดินสําหรับการปลูกพืชสมุนไพร
                     กระเจี๊ยบแดง เกกฮวย ดีปลี บอระเพ็ด พญายอ เพชรสังฆาต มะระขี้นก มะลิ มะแวงเครือ และมะแวงตน   กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   173   174   175   176   177   178   179   180   181   182   183