Page 165 - แผนที่ความเหมาะสมของที่ดินสำหรับการปลูกพืชสมุนไพร กระเจี๊ยบแดง เก็กฮวย ดีปลี บอระเพ็ด พญายอ เพชรสังฆาต มะระขี้นก มะลิ มะแว้งเครือ และมะแว้งต้น
P. 165

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                            4-101




                     4.9    มะแวงเครือ
                            จากการวิเคราะหขอมูลพื้นที่ความเหมาะสมของที่ดินสําหรับมะแวงเครือ มีรายละเอียดดังนี้

                     ประเทศไทยมีพื้นที่ที่มีความเหมาะสมทางกายภาพของที่ดินสําหรับการปลูกมะแวงเครือรวมทั้งสิ้น

                     121,001,933 ไร ซึ่งไดแสดงเปนแผนที่ความเหมาะสมของที่ดินสําหรับมะแวงเครือ โดยมี
                     รายละเอียดความเหมาะสมของที่ดินสําหรับการปลูกมะแวงเครือแบงไดเปน 3 ชั้นดังนี้ (ตารางที่

                     4-17 และ 4-18 และ รูปที่ 4-47 ถึง 4-52)

                              1) พื้นที่ที่มีความเหมาะสมสูง (S1) ประเทศไทยมีพื้นที่ที่มีความเหมาะสมสูง รวมทั้งสิ้น
                     620,984  ไร หรือรอยละ 0.51 ของพื้นที่ที่มีความเหมาะสมทั้งประเทศ แบงเปน ภาคเหนือ มีพื้นที่

                     429 ไร หรือรอยละ 0.07  ของพื้นที่ที่มีความเหมาะสมสูงทั้งประเทศ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

                     มีพื้นที่ 19,566  ไร หรือรอยละ 3.15 ของพื้นที่ที่มีความเหมาะสมสูงทั้งประเทศ ภาคกลาง มีพื้นที่
                     2,010 ไร หรือรอยละ 0.32 ของพื้นที่ที่มีความเหมาะสมสูงทั้งประเทศ ภาคตะวันออก มีพื้นที่

                     321,500 ไร หรือรอยละ 51.78 ของพื้นที่ที่มีความเหมาะสมสูงทั้งประเทศ  และภาคใต มีพื้นที่
                     277,479 ไร หรือรอยละ 44.68 ของพื้นที่ที่มีความเหมาะสมสูงทั้งประเทศ

                               จังหวัด 3 ลําดับแรกที่พื้นที่มีความเหมาะสมสูงในการปลูกมะแวงเครือ ไดแก จังหวัด

                     จันทบุรี สุราษฎรธานี และสระแกว คิดเปนรอยละ 36.09 16.91 และ 14.40 ของพื้นที่ที่มีความ
                     เหมาะสมสูงทั้งประเทศ ตามลําดับ

                            2)  พื้นที่ที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2)  ประเทศไทยมีพื้นที่ที่มีความเหมาะสม
                     ปานกลาง รวมทั้งสิ้น 111,080,003 ไร หรือรอยละ 91.80 ของพื้นที่ที่มีความเหมาะสมทั้งประเทศ

                     แบงเปน ภาคเหนือ มีพื้นที่ 22,638,049  ไร หรือรอยละ 20.38 ของพื้นที่ที่มีความเหมาะสม

                     ปานกลางทั้งประเทศ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีพื้นที่ 56,975,179 ไร หรือรอยละ 51.29
                     ของพื้นที่ที่มีความเหมาะสมปานกลางทั้งประเทศ ภาคกลาง มีพื้นที่ 4,486,527 ไร หรือรอยละ 4.04

                     ของพื้นที่ที่มีความเหมาะสมปานกลางทั้งประเทศ  ภาคตะวันออก มีพื้นที่ 10,116,409 ไร หรือ

                     รอยละ 9.11 ของพื้นที่ที่มีความเหมาะสมปานกลางทั้งประเทศ และภาคใต มีพื้นที่ 16,863,839 ไร
                     หรือรอยละ 15.18 ของพื้นที่ที่มีความเหมาะสมปานกลางทั้งประเทศ

                               จังหวัด 3 ลําดับแรกที่พื้นที่มีความเหมาะสมปานกลางในการปลูกมะแวงเครือ ไดแก
                     จังหวัดนครราชสีมา อุบลราชธานี และขอนแกน คิดเปนรอยละ 6.60 5.06 และ 3.83 ของพื้นที่ที่มี

                     ความเหมาะสมปานกลางทั้งประเทศ ตามลําดับ

                            3) พื้นที่ที่มีความเหมาะสมเล็กนอย (S3) ประเทศไทยมีพื้นที่ที่มีความเหมาะสมเล็กนอย
                     รวมทั้งสิ้น 9,300,946 ไร หรือรอยละ 7.69 ของพื้นที่ที่มีความเหมาะสมทั้งประเทศ แบงเปน

                     ภาคเหนือมีพื้นที่ 5,274,284 ไร หรือรอยละ 56.71 ของพื้นที่ที่มีความเหมาะสมเล็กนอยทั้งประเทศ
                     ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีพื้นที่ 1,856,789  ไร หรือรอยละ 19.96 ของพื้นที่ที่มีความเหมาะสม





                     แผนที่ความเหมาะสมของที่ดินสําหรับการปลูกพืชสมุนไพร
                     กระเจี๊ยบแดง เกกฮวย ดีปลี บอระเพ็ด พญายอ เพชรสังฆาต มะระขี้นก มะลิ มะแวงเครือ และมะแวงตน   กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   160   161   162   163   164   165   166   167   168   169   170