Page 152 - แผนที่ความเหมาะสมของที่ดินสำหรับการปลูกพืชสมุนไพร กระเจี๊ยบแดง เก็กฮวย ดีปลี บอระเพ็ด พญายอ เพชรสังฆาต มะระขี้นก มะลิ มะแว้งเครือ และมะแว้งต้น
P. 152

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                            4-88




                     4.8    มะลิ
                            จากการวิเคราะหขอมูลพื้นที่ความเหมาะสมของที่ดินสําหรับมะลิ มีรายละเอียดดังนี้

                     ประเทศไทยมีพื้นที่ที่มีความเหมาะสมทางกายภาพของที่ดินสําหรับการปลูกมะลิรวมทั้งสิ้น

                     129,939,037  ไร ซึ่งไดแสดงเปนแผนที่ความเหมาะสมของที่ดินสําหรับมะลิ โดยมีรายละเอียด
                     ความเหมาะสมของที่ดินสําหรับการปลูกมะลิแบงเปน 3 ชั้นดังนี้ (ตารางที่ 4-15 และ 4-16 และรูปที่

                     4-41 ถึง 4-46)

                            1)    พื้นที่ที่มีความเหมาะสมสูง (S1)   ประเทศไทยมีพื้นที่ที่มีความเหมาะสมสูง
                     รวมทั้งสิ้น 522,744 ไร หรือรอยละ 0.40 ของพื้นที่ที่มีความเหมาะสมทั้งประเทศ แบงเปน

                     ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีพื้นที่ 18,676 ไร หรือรอยละ 3.57  ของพื้นที่ที่มีความเหมาะสมสูง

                     ทั้งประเทศ ภาคกลาง มีพื้นที่ 287 ไร หรือรอยละ 0.06 ของพื้นที่ที่มีความเหมาะสมสูงทั้งประเทศ
                     ภาคตะวันออก มีพื้นที่ 201,257 ไร หรือรอยละ 38.50 ของพื้นที่ที่มีความเหมาะสมสูงทั้งประเทศ

                     และภาคใต มีพื้นที่ 302,524 ไร หรือรอยละ 57.87 ของพื้นที่ที่มีความเหมาะสมสูงทั้งประเทศ
                               จังหวัด 3 ลําดับแรกที่พื้นที่มีความเหมาะสมสูงในการปลูกมะลิ ไดแก จังหวัดจันทบุรี

                     สุราษฎรธานี และกระบี่ คิดเปนรอยละ 37.66 20.08 และ 20.01 ของพื้นที่ที่มีความเหมาะสมสูงทั้ง

                     ประเทศ ตามลําดับ
                            2)  พื้นที่ที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2)  ประเทศไทยมีพื้นที่ที่มีความเหมาะสม

                     ปานกลาง รวมทั้งสิ้น 30,812,994 ไร หรือรอยละ 23.71 ของพื้นที่ที่มีความเหมาะสมทั้งประเทศ
                     แบงเปน ภาคเหนือ มีพื้นที่ 9,462,194 ไร หรือรอยละ 30.71 ของพื้นที่ที่มีความเหมาะสมปานกลาง

                     ทั้งประเทศ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีพื้นที่ 3,213,637 ไร หรือรอยละ 10.43 ของพื้นที่ที่มีความ

                     เหมาะสมปานกลางทั้งประเทศ ภาคกลาง มีพื้นที่ 1,121,023 ไร หรือรอยละ 3.64 ของพื้นที่ที่มี
                     ความเหมาะสมปานกลางทั้งประเทศ  ภาคตะวันออก มีพื้นที่ 8,033,712 ไร หรือรอยละ 26.07

                     ของพื้นที่ที่มีความเหมาะสมปานกลางทั้งประเทศ และภาคใต มีพื้นที่ 8,982,427 ไร หรือรอยละ

                     29.15 ของพื้นที่ที่มีความเหมาะสมปานกลางทั้งประเทศ
                               จังหวัด 3 ลําดับแรกที่พื้นที่มีความเหมาะสมปานกลางในการปลูกมะลิ ไดแก จังหวัด

                     สระแกว สุราษฎรธานี และจันทบุรี คิดเปนรอยละ 8.24 5.39  และ 4.50 ของพื้นที่ที่มีความ
                     เหมาะสมปานกลางทั้งประเทศ ตามลําดับ

                             3) พื้นที่ที่มีความเหมาะสมเล็กนอย (S3) ประเทศไทยมีพื้นที่ที่มีความเหมาะสมเล็กนอย

                     รวมทั้งสิ้น 98,603,299 ไร หรือรอยละ 75.88 ของพื้นที่ที่มีความเหมาะสมทั้งประเทศ แบงเปน
                     ภาคเหนือ มีพื้นที่ 18,324,663 ไร หรือรอยละ 18.58 ของพื้นที่ที่มีความเหมาะสมเล็กนอย

                     ทั้งประเทศ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีพื้นที่ 55,717,956 ไร หรือรอยละ 56.51 ของพื้นที่ที่มีความ
                     เหมาะสมเล็กนอยทั้งประเทศ  ภาคกลาง มีพื้นที่ 11,961,261  ไร หรือรอยละ 12.13 ของพื้นที่ที่มี





                     แผนที่ความเหมาะสมของที่ดินสําหรับการปลูกพืชสมุนไพร
                     กระเจี๊ยบแดง เกกฮวย ดีปลี บอระเพ็ด พญายอ เพชรสังฆาต มะระขี้นก มะลิ มะแวงเครือ และมะแวงตน   กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   147   148   149   150   151   152   153   154   155   156   157