Page 139 - แผนที่ความเหมาะสมของที่ดินสำหรับการปลูกพืชสมุนไพร กระเจี๊ยบแดง เก็กฮวย ดีปลี บอระเพ็ด พญายอ เพชรสังฆาต มะระขี้นก มะลิ มะแว้งเครือ และมะแว้งต้น
P. 139

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                            4-75




                     4.7    มะระขี้นก
                            จากการวิเคราะหขอมูลพื้นที่ความเหมาะสมของที่ดินสําหรับมะระขี้นก มีรายระเอียดดังนี้

                     ประเทศไทยมีพื้นที่ที่มีความเหมาะสมทางกายภาพของที่ดินสําหรับการปลูกมะระขี้นก มีเนื้อที่

                     114,308,404 ไร ซึ่งไดแสดงเปนแผนที่ความเหมาะสมของที่ดินสําหรับมะระขี้นก โดยมีรายละเอียด
                     ความเหมาะสมของที่ดินกับการปลูกมะระขี้นก แบงเปน 3 ชั้นดังนี้ (ตารางที่ 4-13 และ 4-14 และภาพ

                     ที่ 4-35 ถึง 4-40)

                           1) พื้นที่ที่มีความเหมาะสมสูง (S1) ทั้งประเทศ มีเนื้อที่ 8,881,861  ไรหรือรอยละ 7.77
                     ของพื้นที่ที่มีความเหมาะสมทั้งประเทศ โดยภาคเหนือ มีเนื้อที่ 3,066,116  ไร หรือรอยละ 34.52

                     ของพื้นที่ที่มีความเหมาะสมสูงทั้งประเทศ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีเนื้อที่ 2,844,273 ไร

                     หรือรอยละ 32.02 ของพื้นที่ที่มีความเหมาะสมสูงทั้งประเทศ ภาคกลาง มีเนื้อที่ 2,267,260 ไร
                     หรือรอยละ 25.53 ของพื้นที่ที่มีความเหมาะสมสูงทั้งประเทศ ภาคตะวันออก มีเนื้อที่ 426,748 ไร

                     หรือรอยละ 4.81 ของพื้นที่ที่มีความเหมาะสมสูงทั้งประเทศ และภาคใต มีเนื้อที่ 277,464 ไร
                     หรือรอยละ 3.12 ของพื้นที่ที่มีความเหมาะสมสูงทั้งประเทศ

                             จังหวัด 3 ลําดับแรกที่พื้นที่มีความเหมาะสมสูงในการปลูกมะระขี้นก ไดแก จังหวัดลพบุรี

                     เพชรบูรณ และชัยภูมิ คิดเปนรอยละ 14.62 8.07  และ  7.24  ของพื้นที่ที่มีความเหมาะสมสูง
                     ทั้งประเทศ ตามลําดับ

                           2) พื้นที่ที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) ทั้งประเทศมีเนื้อที่ 70,789,976 ไร หรือรอยละ
                     61.93 ของพื้นที่ที่มีความเหมาะสมทั้งประเทศ โดยภาคเหนือ มีเนื้อที่ 12,668,835  ไร หรือรอยละ

                     17.90 ของพื้นที่ที่มีความเหมาะสมปานกลางทั้งประเทศ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีเนื้อที่

                     29,441,347  ไร หรือรอยละ 41.59  ของพื้นที่ที่มีความเหมาะสมปานกลางทั้งประเทศ ภาคกลาง
                     มีเนื้อที่ 7,527,292  ไร หรือรอยละ 10.63 ของพื้นที่ที่มีความเหมาะสมปานกลางทั้งประเทศ

                     ภาคตะวันออก มีเนื้อที่ 6,045,851 ไร หรือรอยละ 8.54 ของพื้นที่ที่มีความเหมาะสมปานกลางทั้งประเทศ
                     และภาคใต มีเนื้อที่ 15,106,651 ไร หรือรอยละ 21.34 ของพื้นที่ที่มีความเหมาะสมปานกลางทั้งประเทศ

                             จังหวัด 3 ลําดับแรกที่พื้นที่มีความเหมาะสมปานกลางในการปลูกมะระขี้นก ไดแก จังหวัด

                     นครราชสีมา สุราษฎรธานี และอุดรธานี คิดเปนรอยละ 6.74  4.98  และ 3.96  ของพื้นที่ที่มีความ
                     เหมาะสมปานกลางทั้งประเทศ ตามลําดับ

                           3) เนื้อที่ที่มีความเหมาะสมเล็กนอย (S3) ทั้งประเทศมีเนื้อที่  34,636,567  ไร หรือรอยละ

                     30.30 ของพื้นที่ที่มีความเหมาะสมทั้งประเทศ โดยภาคภาคเหนือ มีเนื้อที่ 11,485,289 ไร หรือรอยละ
                     33.16 ของพื้นที่ที่มีความเหมาะสมเล็กนอยทั้งประเทศ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีเนื้อที่

                     9,746,003 ไร หรือรอยละ 28.14 ของพื้นที่ที่มีความเหมาะสมเล็กนอยทั้งประเทศ ภาคกลาง มีเนื้อที่
                     3,934,434 ไร หรือรอยละ 11.36  ของพื้นที่ที่มีความเหมาะสมเล็กนอยทั้งประเทศ ภาคตะวันออก





                     แผนที่ความเหมาะสมของที่ดินสําหรับการปลูกพืชสมุนไพร
                     กระเจี๊ยบแดง เกกฮวย ดีปลี บอระเพ็ด พญายอ เพชรสังฆาต มะระขี้นก มะลิ มะแวงเครือ และมะแวงตน   กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   134   135   136   137   138   139   140   141   142   143   144