Page 126 - แผนที่ความเหมาะสมของที่ดินสำหรับการปลูกพืชสมุนไพร กระเจี๊ยบแดง เก็กฮวย ดีปลี บอระเพ็ด พญายอ เพชรสังฆาต มะระขี้นก มะลิ มะแว้งเครือ และมะแว้งต้น
P. 126

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                            4-62




                     4.6    เพชรสังฆาต
                            จากการวิเคราะหขอมูลพื้นที่ความเหมาะสมของที่ดินสําหรับเพชรสังฆาต มีรายระเอียดดังนี้

                     ประเทศไทยมีพื้นที่ที่มีความเหมาะสมทางกายภาพของที่ดินสําหรับการปลูกเพชรสังฆาต มีเนื้อที่

                     118,505,440 ไร ซึ่งไดแสดงเปนแผนที่ความเหมาะสมของที่ดินสําหรับเพชรสังฆาต โดยมี
                     รายละเอียดความเหมาะสมของที่ดินกับการปลูกเพชรสังฆาต แบงเปน 3 ชั้นดังนี้ (ตารางที่ 4-11 และ

                     4-12 และภาพที่ 4-29 ถึง 4-34)

                           1) พื้นที่ที่มีความเหมาะสมสูง (S1) ทั้งประเทศ มีเนื้อที่ 9,659,418  ไรหรือรอยละ 8.15
                     ของพื้นที่ที่มีความเหมาะสมทั้งประเทศ โดยภาคเหนือ มีเนื้อที่ 3,507,720  ไร หรือรอยละ 36.31

                     ของพื้นที่ที่มีความเหมาะสมสูงทั้งประเทศ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีเนื้อที่ 3,063,947 ไร

                     หรือรอยละ 31.72 ของพื้นที่ที่มีความเหมาะสมสูงทั้งประเทศ ภาคกลาง มีเนื้อที่ 2,376,582 ไร
                     หรือรอยละ 24.61 ของพื้นที่ที่มีความเหมาะสมสูงทั้งประเทศ ภาคตะวันออก มีเนื้อที่ 432,874 ไร

                     หรือรอยละ 4.48 ของพื้นที่ที่มีความเหมาะสมสูงทั้งประเทศ และภาคใต มีเนื้อที่ 278,295 ไร
                     หรือรอยละ 2.88 ของพื้นที่ที่มีความเหมาะสมสูงทั้งประเทศ

                            จังหวัด 3 ลําดับแรกที่พื้นที่มีความเหมาะสมสูงในการปลูกเพชรสังฆาต ไดแก จังหวัด

                     ลพบุรี เพชรบูรณ และชัยภูมิ คิดเปนรอยละ 13.79 8.24 และ 6.67 ของพื้นที่ที่มีความเหมาะสมสูง
                     ทั้งประเทศ ตามลําดับ

                          2) พื้นที่ที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) ทั้งประเทศมีเนื้อที่ 78,664,900 ไร หรือรอยละ
                     66.38 ของพื้นที่ที่มีความเหมาะสมทั้งประเทศ โดยภาคเหนือ มีเนื้อที่ 14,080,491  ไร หรือรอยละ

                     17.90 ของพื้นที่ที่มีความเหมาะสมปานกลางทั้งประเทศ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีเนื้อที่

                     32,368,536  ไร หรือรอยละ 41.15  ของพื้นที่ที่มีความเหมาะสมปานกลางทั้งประเทศ ภาคกลาง
                     มีเนื้อที่ 8,539,485  ไร หรือรอยละ 10.85 ของพื้นที่ที่มีความเหมาะสมปานกลางทั้งประเทศ

                     ภาคตะวันออก มีเนื้อที่ 6,788,434 ไร หรือรอยละ 8.63 ของพื้นที่ที่มีความเหมาะสมปานกลางทั้งประเทศ
                     และภาคใต มีเนื้อที่ 16,887,954 ไร หรือรอยละ 21.47 ของพื้นที่ที่มีความเหมาะสมปานกลางทั้งประเทศ

                             จังหวัด 3 ลําดับแรกที่พื้นที่มีความเหมาะสมปานกลางในการปลูกเพชรสังฆาต ไดแก

                     จังหวัดนครราชสีมา สุราษฎรธานี และขอนแกน คิดเปนรอยละ 6.24 4.86 และ 4.15 ของพื้นที่ที่มี
                     ความเหมาะสมปานกลางทั้งประเทศ ตามลําดับ

                           3) เนื้อที่ที่มีความเหมาะสมเล็กนอย (S3) ทั้งประเทศมีเนื้อที่ 30,181,122  ไร หรือรอยละ

                     25.47 ของพื้นที่ที่มีความเหมาะสมทั้งประเทศ โดยภาคภาคเหนือ มีเนื้อที่ 12,689,129 ไร หรือรอยละ
                     42.04 ของพื้นที่ที่มีความเหมาะสมเล็กนอยทั้งประเทศ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีเนื้อที่

                     6,999,426 ไร หรือรอยละ 23.19 ของพื้นที่ที่มีความเหมาะสมเล็กนอยทั้งประเทศ ภาคกลาง มีเนื้อที่
                     2,947,925 ไร หรือรอยละ 9.77  ของพื้นที่ที่มีความเหมาะสมเล็กนอยทั้งประเทศ ภาคตะวันออก





                     แผนที่ความเหมาะสมของที่ดินสําหรับการปลูกพืชสมุนไพร
                     กระเจี๊ยบแดง เกกฮวย ดีปลี บอระเพ็ด พญายอ เพชรสังฆาต มะระขี้นก มะลิ มะแวงเครือ และมะแวงตน   กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   121   122   123   124   125   126   127   128   129   130   131