Page 113 - แผนที่ความเหมาะสมของที่ดินสำหรับการปลูกพืชสมุนไพร กระเจี๊ยบแดง เก็กฮวย ดีปลี บอระเพ็ด พญายอ เพชรสังฆาต มะระขี้นก มะลิ มะแว้งเครือ และมะแว้งต้น
P. 113

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                            4-49




                     4.6    พญายอ
                            จากการวิเคราะหขอมูลเนื้อที่ความเหมาะสมของที่ดินสําหรับพญายอมีรายละเอียดดังนี้

                     ประเทศไทยมีเนื้อที่ที่มีความเหมาะสมทางกายภาพของที่ดินสําหรับการปลูกพญายอรวมทั้งสิ้น

                     101,863,140  ไร ซึ่งไดแสดงเปนแผนที่ความเหมาะสมของที่ดินสําหรับพญายอ โดยมีรายละเอียด
                     ความเหมาะสมของที่ดินสําหรับการปลูกพญายอ แบงเปน 3 ชั้นดังนี้ (ตารางที่ 4-9 และ 4-10 และ

                     รูปที่ 4-23 ถึง 4-28)

                          1)  เนื้อที่ที่มีความเหมาะสมสูง (S1) ประเทศไทยมีเนื้อที่ที่มีความเหมาะสมสูงรวมทั้งสิ้น
                     1,097,019  ไร หรือรอยละ 1.08 ของเนื้อที่ที่มีความเหมาะสมทั้งประเทศ แบงเปน ภาคเหนือ

                     มีเนื้อที่ 264,124 ไร หรือรอยละ 24.08 ของเนื้อที่ที่มีความเหมาะสมสูงทั้งประเทศ

                     ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีเนื้อที่ 558,642 หรือรอยละ 50.92 ของเนื้อที่ที่มีความเหมาะสมสูงทั้ง
                     ประเทศ  ภาคกลาง 270,527 หรือรอยละ 24.66 ของเนื้อที่ที่มีความเหมาะสมสูงทั้งประเทศ  และ

                     ภาคตะวันออก มีเนื้อที่ 3,726 หรือรอยละ 0.34 ของเนื้อที่ที่มีความเหมาะสมสูงทั้งประเทศ
                          จังหวัด 3 ลําดับแรกที่พื้นที่มีความเหมาะสมสูงในการปลูกพญายอ ไดแก จังหวัดกําแพงเพชร

                     ชัยภูมิ และอุบลราชธานี คิดเปนรอยละ 11.28 11.04 และ 7.40 ของพื้นที่ที่มีความเหมาะสมสูงทั้ง

                     ประเทศ ตามลําดับ
                           2)  เนื้อที่ที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) ประเทศไทยมีเนื้อที่ที่มีความเหมาะสม

                     ปานกลางรวมทั้งสิ้น 79,876,037  ไร หรือรอยละ 78.41  ของเนื้อที่ที่มีความเหมาะสมทั้งประเทศ
                     แบงเปน ภาคเหนือ มีเนื้อที่ 17,968,814  ไร หรือรอยละ 22.5 ของเนื้อที่ที่มีความเหมาะสมปาน

                     กลางทั้งประเทศ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีเนื้อที่ 28,603,424 ไร หรือรอยละ 35.81 ของเนื้อที่ที่

                     มีความเหมาะสมปานกลางทั้งประเทศ ภาคกลาง มีเนื้อที่ 10,123,443 ไร หรือรอยละ 12.67
                     ของเนื้อที่ที่มีความเหมาะสมปานกลางทั้งประเทศ ภาคตะวันออก มีเนื้อที่ 6,545,148  ไร หรือ

                     รอยละ 8.19 ของเนื้อที่ที่มีความเหมาะสมปานกลางทั้งประเทศ และภาคใต มีเนื้อที่ 16,635,208 ไร

                     หรือรอยละ 20.83 ของเนื้อที่ที่มีความเหมาะสมปานกลางทั้งประเทศ
                           จังหวัด 3  ลําดับแรกที่พื้นที่มีความเหมาะสมปานกลางในการปลูกพญายอ ไดแก จังหวัด

                     นครราชสีมา สุราษฎรธานี และกาญจนบุรี คิดเปนรอยละ 6.13 4.85 และ 4.06 ของพื้นที่ที่มีความ
                     เหมาะสมปานกลางทั้งประเทศ ตามลําดับ

                           3)  เนื้อที่ที่มีความเหมาะสมเล็กนอย (S3) ประเทศไทยมีเนื้อที่ที่มีความเหมาะสมเล็กนอย

                     รวมทั้งสิ้น 20,890,084  ไร หรือรอยละ 20.51 ของเนื้อที่ที่มีความเหมาะสมทั้งประเทศ แบงเปน
                     ภาคเหนือ มีเนื้อที่ 7,755,366 ไร หรือรอยละ 37.12  ของเนื้อที่ที่มีความเหมาะสมเล็กนอยทั้ง

                     ประเทศ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีเนื้อที่ 5,177,377 ไร หรือรอยละ 24.78 ของเนื้อที่ที่มีความ
                     เหมาะสมเล็กนอยทั้งประเทศ ภาคกลาง มีเนื้อที่ 1,542,776 ไร หรือรอยละ 7.39 ของเนื้อที่ที่มี





                     แผนที่ความเหมาะสมของที่ดินสําหรับการปลูกพืชสมุนไพร
                     กระเจี๊ยบแดง เกกฮวย ดีปลี บอระเพ็ด พญายอ เพชรสังฆาต มะระขี้นก มะลิ มะแวงเครือ และมะแวงตน   กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   108   109   110   111   112   113   114   115   116   117   118