Page 120 - แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำคลองกุย อำเภอกุยบุรี และอำเภอสามร้อยยอด จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
P. 120

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                             96
                                6














                                5

                       การด าเนินงานตามแผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดิน และฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรม

                   ด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ า มีกลไกการขับเคลื่อนการด าเนินงานในรูปแบบคณะกรรมการ และ
                   คณะท างาน ประกอบด้วย คณะกรรมการขับเคลื่อนโครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดิน และฟื้นฟู

                   พื้นที่เกษตรกรรม ด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ า และคณะท างานจัดท าแผนการบริหารจัดการโครงการ
                   ป้องกันการชะล้างพังทลายของดิน และฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ า พื้นที่ลุ่มน้ า

                   คลองกุย อ าเภอกุยบุรี และอ าเภอสามร้อยยอด จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ในการจัดท าต้นแบบแผนการ

                   บริหารจัดการการชะล้างพังทลายของดิน และฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ า ส าหรับ
                   ขับเคลื่อนการด าเนินงานด้านการอนุรักษ์ดินและน้ าให้บรรลุเป้าหมายตามยุทธศาสตร์ 20 ปีแผนพัฒนา

                   เศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 และแผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้ า ดังนั้น เพื่อให้
                   แผนบริหารจัดการเกิดผลสัมฤทธิ์ในทางปฏิบัติ บรรลุวัตถุประสงค์ และเป้าหมายที่ก าหนดไว้ จึง

                   จ าเป็นต้องได้รับการขับเคลื่อน และผลักดันจากทุกภาคส่วน และให้เกิดการบูรณาการทุกระดับและผ่าน

                   กระบวนการมีส่วนร่วม เพื่อให้การบริหารจัดการทรัพยากรดิน และน้ ามีเป้าหมายไปในทิศทางเดียวกัน
                   ควรมีแนวทางการด าเนินงาน ดังนี้





                   ให้สามารถน าไปสู่การวางแผนการก าหนดมาตรการ และบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรมที่มีความเสี่ยงต่อ
                   การชะล้างพังทลายของดินและพื้นที่ดินเสื่อมโทรม รวมทั้งสามารถแปลงไปสู่การปฏิบัติได้อย่างเป็น

                   รูปธรรม ตามระบบการบริหารเชิงยุทธศาสตร์ที่สอดคล้องกับประเด็นปัญหา และบูรณาการการ
                   ด าเนินงานของหน่วยงานโดยผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมจากภาคีผู้มีส่วนได้เสียที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้

                   หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเกิดการยอมรับ และตระหนักถึงความส าคัญของแผน และน าต้นแบบของแผนไป

                   ขยายผลสู่การปฏิบัติได้อย่างเป็นรูปธรรม



                                                                                 ระดับหน่วยงานที่ปฏิบัติงาน
                   ส่วนกลาง และส่วนภูมิภาคในด้านวิชาการที่เป็นกระบวนการหลัก (core process) และกระบวนการ

                   สนับสนุน (support process) โดยน าแนวทางการปฏิบัติงานไปก าหนดเป็นแผนงานโครงการ และ

                   ก าหนดเป็นข้อตกลงการท างานระหว่างหน่วยงาน เน้นการท างานเชิงบูรณาการเพื่อขับเคลื่อนองค์กรให้
   115   116   117   118   119   120   121   122   123   124   125