Page 150 - แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำห้วยศาลจอด อำเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร
P. 150

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                             113


                   ตารางที่ 6-2  การจัดท าฐานข้อมูลเพื่อประเมินการเปลี่ยนแปลงตามตัวชี้วัดมิติกายภาพ เศรษฐกิจและสังคม (ต่อ)

                                                                                      ผู้รับผิดชอบ
                                                 รายการตรวจวัด /ประเมิน**
                     ประเด็น   ประเด็นตัวชี้วัด*                             ฐานข้อมูลเชิง  จัดท าฐานข้อมูล
                                             (พื้นที่ดิน/ตะกอนถูกชะล้าง หรือที่ทับถม)
                                                                                พื้นที่         กลาง
                    4. สภาพ   4.1 รายได้ และ  - ต้นทุนการผลิต               ส่วนภูมิภาค

                    เศรษฐกิจ  สภาพความ       - รายจ่าย                      (สพข/สพด)
                    สังคม     เป็นอยู่       - ค่าแรง                       ส่วนกลาง
                                                                            (กนผ/กวจ.)

                   หมายเหตุ :*  พิจารณาตามสภาพภูมิสังคม

                      ** วิธีการเก็บตัวอย่าง เก็บข้อมูล และวิเคราะห์ตัวอย่างและข้อมูลตามระบบมาตรฐานสากล





                              การติดตามและประเมินผลของโครงการเป็นขบวนการที่มีความส าคัญอย่างยิ่ง โดย

                   ขบวนการต้องมีความถี่ที่เหมาะสมตามลักษณะของโครงการ การติดตามต้องมีระบบ และประเด็นที่ชัดเจน

                   การด าเนินโครงการต้องมีความยืดหยุ่นในการปรับขบวนการท างานพอสมควร เพื่อสอดคล้องกับการ
                   เปลี่ยนแปลง มิติสังคม การเมือง และ ฯลฯ


                         1) การติดตามความก้าวหน้าในการด าเนินงานตามแผนบริหารทรัพยากรดินเพื่อป้องกันการชะล้าง
                   พังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมโดยการมีส่วนร่วมของหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งส่วนกลางและระดับ

                   พื้นที่โดยก าหนดให้มีการจัดท ารายงานผลการด าเนินงานประจ าปีการติดตามประเมินผลส าเร็จและ
                   ผลกระทบจากการด าเนินงานตามแผนทุก 2 ปี มีการประเมินผลช่วงกลางแผนเพื่อปรับเป้าหมายและ

                   ตัวชี้วัดให้สอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไปรวมทั้งมีการประเมินผลเมื่อสิ้นสุดการด าเนินการตาม

                   แผนปฏิบัติการ

                         2) จัดตั้งคณะกรรมการติดตามประเมินผลเพื่อติดตามความก้าวหน้าการด าเนินงานและผลสัมฤทธิ์ของ

                   งานในแต่ละด้านตามแผนทั้งด้านปัจจัยน าเข้า (input) การบวนการท างาน (process) ผลผลิต (output)
                   ผลลัพธ์ (outcome) และผลกระทบ (impact) ประกอบด้วยนักวิชาการจากส่วนกลางนักวิชาการและ

                   เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานระดับพื้นที่และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้ามามีส่วนร่วมในการติดตามประเมินผลตาม

                   แผนปฏิบัติการที่มีการก าหนดกรอบตัวชี้วัดที่ครอบคลุมทุกมิติประกอบด้วยประเด็นการวัดและติดตาม
                   ประเมินผลผู้จัดเก็บตัวชี้วัดและรายงานผล (ตารางที่7-2) พร้อมทั้งเสนอวิธีการจัดเก็บและติดตาม

                   สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพสังคมและเศรษฐกิจในการจัดท าฐานข้อมูลเพื่อประเมินการ
                   เปลี่ยนแปลงตามตัวชี้วัดประกอบด้วยประเด็นการวัดรายการตรวจวัดผู้รับผิดชอบฐานข้อมูลกลางและ

                   ฐานข้อมูลเชิงพื้นที่
   145   146   147   148   149   150   151   152   153   154   155