Page 92 - แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำห้วยท่าแค จังหวัดนครราชสีมา
P. 92

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                          78





                            4









                     การประเมินความเหมาะสมของดินส าหรับการปลูกพืชเศรษฐกิจ ตามวิธีการประเมินของตามระบบ
               FAO พบว่า ความเหมาะสมของดินส าหรับการปลูกพืช พื้นที่เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ าห้วยท่าแค จากตาราง

               ความเหมาะสมของดินส าหรับการปลูกพืชเศรษฐกิจสามารถสรุปได้ดังนี้ (ตารางที่ 4-1)
                     ชุดดินจัตุรัส (หน่วยแผนที่ Ct-siclB) มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) ส าหรับเป็นทุ่งหญ้าเลี้ยง

               สัตว์และปลูกพริก เพราะมีข้อจ ากัดเรื่องการระบายน้ าของดิน การแลกเปลี่ยนแคตไอออน และความ

               อิ่มตัวของเบส มีความเหมาะสมเล็กน้อย (S3) ส าหรับปลูกข้าว ข้าวโพด มันส าปะหลัง อ้อย มะม่วง
               มะปราง หม่อน กล้วย ผักหวาน และมะขาม เพราะมีข้อจ ากัดเรื่องการระบายน้ าของดิน และไม่เหมาะสม

               (N) ส าหรับปลูกไผ่ และถั่วลิสง
                     ชุดดินห้วยแถลง (หน่วยแผนที่ Ht-slB) ความเหมาะสมปานกลาง (S2) ส าหรับปลูกพืช ข้าวโพด

               มันส าปะหลัง หญ้าเลี้ยงสัตว์ อ้อย มะม่วง มะปราง ไผ่ หม่อน ถั่วลิสง กล้วย ผักหวาน พริก และมะขาม

               เพราะมีข้อจ ากัดด้านเนื้อดิน ความอิ่มตัวของเบส การแลกเปลี่ยนแคตไอออน และปริมาณอินทรียวัตถุ
               และไม่มีความเหมาะสม (N) ส าหรับ ข้าว

                     ชุดดินกุลาร้องไห้ (หน่วยแผนที่ Ki-slA) มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) ส าหรับพริก ทุ่งหญ้า

               เลี้ยงสัตว์ เพราะมีข้อจ ากัดด้านการระบายน้ าของดิน ความอิ่มตัวของเบส การแลกเปลี่ยนแคตไอออน
               และความเค็มของดิน มีความเหมาะสมเล็กน้อย (S3) ส าหรับ ข้าว ข้าวโพด มันส าปะหลัง อ้อย มะม่วง

               มะปราง หม่อน กล้วย ผักหวาน และมะขาม เนื่องจากปัญหาข้อจ ากัดด้านการระบายน้ าของดิน ความเค็ม
               ของดิน และไม่มีความเหมาะสม (N) ส าหรับ ไผ่ และถั่วลิสง

                     ชุดดินคง (หน่วยแผนที่ Kng-slB) มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) ส าหรับปลูกพืช ข้าวโพด

               มันส าปะหลัง หญ้าเลี้ยงสัตว์ อ้อย มะม่วง มะปราง ไผ่ หม่อน ถั่วลิสง กล้วย ผักหวาน พริก และมะขาม
               เพราะมีข้อจ ากัดด้านเนื้อดิน ความอิ่มตัวของเบส การแลกเปลี่ยนแคตไอออน ปริมาณอินทรียวัตถุ และ

               ปฏิกิริยาความเป็นกรดด่าง และไม่มีความเหมาะสม (N) ส าหรับ ข้าว
                     ชุดดินขามทะเลสอ (หน่วยแผนที่ Kts-slA) มีความเหมาะสมปานกลางส าหรับ (S2) ข้าวโพด

               มันส าปะหลัง หญ้าเลี้ยงสัตว์ อ้อย มะม่วง มะปราง ไผ่ หม่อน ถั่วลิสง กล้วย พริก และมะขาม เพราะมี

               ข้อจ ากัดด้านปริมาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ ปริมาณอินทรียวัตถุ ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์
               และปฏิกิริยาความเป็นกรดด่างมีความเหมาะสมเล็กน้อย (S3) ส าหรับพืชกระวาน แต่มีข้อจัดด้านเนื้อดิน

               และไม่มีความเหมาะสม (N) ส าหรับข้าว
   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96   97