Page 40 - แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำคลองแอ่ง อำเภอบ่อไร่ จังหวัดตราด
P. 40

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                          24





                                3












                     พื้นที่ลุ่มน้ าคลองแอ่งมีพื้นที่รวมทั้งสิ้น 135.82 ตารางกิโลเมตร หรือ 84,890 ไร่ โดยตั้งอยู่ในโซน 48P
               ระหว่าง เส้นรุ้งที่ 12° 34’ 21” ถึง 12° 44’ 33”เหนือ (พิกัดเหนือ 1391234 m ถึง พิกัดเหนือ 1409943

               m)และระหว่าง เส้นแวงที่ 102° 25’ 34” และ 102° 31’ 10” ตะวันออก (พิกัดตะวันออก 220330 m ถึง

               พิกัดตะวันออก 230649 m ) อยู่ในลุ่มน้ าหลักชายฝั่งทะเลตะวันออก (รหัส 18) และเป็นส่วนหนึ่งของลุ่มน้ า
               สาขาแม่น้ าเมืองตราด (รหัส 1802) โดยมีพื้นที่อยู่ในต าบลหนองบอน ต าบลช้างทูน ต าบลบ่อพลอย

               อ าเภอบ่อไร่ จังหวัดตราด ลักษณะลุ่มน้ าวางตัวตามแนวทิศเหนือ - ใต้ มีอาณาเขตติดต่อ (ภาพที่ 3-1) ดังนี้

                     ทิศเหนือ              ติดต่อ     ต าบลหนองบอน อ าเภอบ่อไร่ จังหวัดตราด
                     ทิศใต้           ติดต่อ       ต าบลบ่อพลอย และต าบลช้างทูน อ าเภอบ่อไร่

                                                   จังหวัดตราด
                     ทิศตะวันออก        ติดต่อ     ต าบลบ่อพลอย อ าเภอบ่อไร่ จังหวัดตราด

                                                   และราชอาณาจักรกัมพูชา

                     ทิศตะวันตก          ติดต่อ     ต าบลหนองบอน และต าบลช้างทูน อ าเภอบ่อไร่
                                                   จังหวัดตราด






                     สภาพภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาด รองลงมาเป็นพื้นที่เนินเขา พื้นที่ลูกคลื่นลอนชัน
               พื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย พื้นที่สูงชัน พื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ พื้นที่สูงชันมาก และพื้นที่

               สูงชันมากที่สุดตามล าดับ มีความสูงจากระดับทะเลปานกลาง 16-910 เมตร โดยมีคลองแอ่งไหลผ่านพื้นที่

               จากทิศเหนือไหลลงไปทิศใต้ของพื้นที่โครงการ (ภาพที่ 3-1 และภาพที่ 3-2)
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45