Page 71 - กลุ่มดินตามระบบฐานอ้างอิง ทรัพยากรดินของโลก (WRB) สำหรับทรัพยากรดินของประเทศไทย World Reference Base for Soil Resources of Thailand
P. 71

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน



              ลักษณะของหน้าตัดดิน (Profile features)


                       ลักษณะวินิจฉัยที่อาจพบในชั้นผิวดิน ได้แก่ ชั้นวินิจฉัย ochric mollic umbric หรือ histic กลุ่มดิน
              Fluvisols มีระดับนำ้าใต้ดินตื้น และแสดงสมบัติ gleyic สำาหรับในบริเวณที่แห้งแล้ง กลุ่มดิน Fluvisols อาจเป็นดิน

              เนื้อปูน (calcareous) หรือมีชั้น salic เกิดขึ้น


              สภาพแวดล้อมและภูมิสัณฐาน (Environment and landforms)


                       กลุ่มดิน Fluvisols เกิดได้ในทุกสภาพอากาศในบริเวณที่เป็นที่ลุ่มตำ่า ซึ่งเคยเป็นบริเวณที่มีนำ้าท่วมขังมา

              ก่อน ลักษณะของหน้าตัดดินมีหลายแบบ ซึ่งเป็นผลมาจากการพัฒนาของตะกอนที่มีขนาดแตกต่างกัน และมีลักษณะ
              การระบายนำ้าต่างกัน ในบริเวณพื้นที่ราบนำ้าท่วมถึง (floodplains) คันดินริมนำ้า (levees) และที่ลุ่มขังนำ้าหลังคันดิน

              (back-swamps)

              การใช้ประโยชน์ (Use and management)


                       กลุ่มดิน Fluvisols ที่เกิดในพื้นที่ราบ มีความอุดมสมบูรณ์ง่ายต่อการใช้ประโยชน์ ส่วนใหญ่ใช้ในการทำานา

              สำาหรับกลุ่มดิน Fluvisols ที่เกิดจากตะกอนทะเล มักเป็นพื้นที่ป่าโกงกาง จะพบวัสดุ sulfidic หรือชั้น sulfuric
              ซึ่งมีข้อจำากัดต่อการทำาการเกษตร

















































                                                                                                        67
   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76