Page 50 - รายงานสภาพการใช้ที่ดิน ปี พ.ศ.2563
P. 50

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                            36





                                   (3)  ไมยืนตนผสม (A301) มีเนื้อที่ 3,859 ไร หรือรอยละ 0.14 ของเนื้อที่จังหวัด

                  พบมากที่สุดในพื้นที่อําเภอเมืองพิจิตร รองลงมาอําเภอโพทะเล และอําเภอวชิรบารมี ตามลําดับ
                                   (4)  ยางพารา (A302) มีเนื้อที่ 3,678 ไร หรือรอยละ 0.13 ของเนื้อที่จังหวัด พบ
                  มากที่สุดในพื้นที่อําเภอดงเจริญ รองลงมาอําเภอบึงนาราง และอําเภอทับคลอ ตามลําดับ

                                   (5)  ปาลมน้ํามัน (A303) มีเนื้อที่  1,431 ไร หรือรอยละ 0.05 ของเนื้อที่จังหวัด
                  พบมากที่สุดในพื้นที่อําเภอเมืองพิจิตร รองลงมาอําเภอสากเหล็ก และอําเภอโพธิ์ประทับชาง ตามลําดับ
                                   (6)  ไมยืนตนอื่น ๆ ที่พบไดแก ไมยืนตนราง/เสื่อมโทรม สะเดา ประดู หมอน
                  ไผปลูกเพื่อการคา จามจุรี และตะกู มีเนื้อที่ 2,184 ไร หรือรอยละ 0.08 ของเนื้อที่ทั้งหมด
                             4)    ไมผล (A4) มีเนื้อที่ 125,334 ไร หรือรอยละ 4.42 ของเนื้อที่จังหวัด ไมผลที่สําคัญ

                  ทางเศรษฐกิจของจังหวัดพิจิตร ไดแก
                                   (1)  มะมวง (A407) มีเนื้อที่ 36,350 ไร หรือรอยละ 1.28 ของเนื้อที่จังหวัด พบ
                  ปลูกมากที่สุดในพื้นที่อําเภอสากเหล็ก รองลงมาอําเภอวังทรายพูน และอําเภอเมืองพิจิตร ตามลําดับ

                  พันธุมะมวงที่ปลูก เชน พันธุน้ําดอกไมสีทอง และพันธุเขียวเสวย
                                   (2)  กลวย (A411) มีเนื้อที่ 27,337 ไร หรือรอยละ 0.97 ของเนื้อที่จังหวัด พบ
                  ปลูกมากที่สุดในพื้นที่อําเภอบึงนาราง รองลงมาอําเภอเมืองพิจิตร และอําเภอโพทะเล ตามลําดับ
                                   (3)  สมโอ (A427) มีเนื้อที่ 22,255 ไร หรือรอยละ 0.79 ของเนื้อที่จังหวัด พบ

                  ปลูกมากที่สุดในพื้นที่อําเภอโพธิ์ประทับชาง รองลงมาอําเภอเมืองพิจิตร และอําเภอตะพานหิน
                  ตามลําดับ พันธุที่ปลูกเชน พันธุทาขอย ซึ่งเปนพันธุที่มีชื่อเสียงของจังหวัด พันธุขาวแตงกวา และพันธุ
                  ทองดี เปนตน
                                   (4)  ไมผลผสม (A401) มีเนื้อที่ 17,103 ไร หรือรอยละ 0.60 ของเนื้อที่จังหวัด

                  พบปลูกมากที่สุดในพื้นที่อําเภอเมืองพิจิตร รองลงมาอําเภอโพทะเล และอําเภอตะพานหิน ตามลําดับ
                                   (5)  มะนาว (A422) มีเนื้อที่ 12,273 ไร หรือรอยละ 0.43 ของเนื้อที่จังหวัด พบ
                  ปลูกมากที่สุดในพื้นที่อําเภอโพทะเล รองลงมาอําเภอตะพานหิน และอําเภอบึงนาราง ตามลําดับ
                                   (6)  ไมผลอื่น ๆ ที่พบไดแก ไมผลราง/ไมผลเสื่อมโทรม สม ทุเรียน เงาะมะพราว

                  พุทรา นอยหนา มะขาม ลําไย ฝรั่ง มะละกอ ขนุน และกระทอน ชมพู มะขามเทศ แกวมังกร และ
                  มะปราง มะยงชิด มีเนื้อที่ 10,016 ไร หรือรอยละ 0.35 ของเนื้อที่จังหวัด
                             5)    พืชสวน (A5) มีเนื้อที่ 7,821 ไร หรือรอยละ 0.28 ของเนื้อที่จังหวัด ไดแก พืชสวน

                  ราง/เสื่อมโทรม พืชผัก ไมดอก ไมประดับ พืชสมุนไพร และพืชสวนราง/เสื่อมโทรม
                                   (1)  พืชสวนราง/เสื่อมโทรม (A500) มีเนื้อที่ 478  ไร หรือรอยละ 0.02  ของ
                  เนื้อที่จังหวัด ที่พบสวนใหญเปนไรองุนราง พบมากที่อําเภอดงเจริญ
                                   (2)  พืชผัก (A502)  มีเนื้อที่ 7,040  ไร หรือรอยละ 0.25  ของเนื้อที่จังหวัด พบ
                  ปลูกมากที่อําเภอบึงนาราง

                                   (3)  ไมดอก ไมประดับ (A503) มีเนื้อที่ 274  ไร หรือรอยละ 0.01  ของเนื้อที่
                  จังหวัด พบปลูกมากที่อําเภอเมืองพิจิตร และอําเภอบึงนาราง
                                   (4)  พืชสมุนไพร (A509) มีเนื้อที่ 29 ไร หรือรอยละ 0.00 ของเนื้อที่จังหวัด พบ

                  ปลูกมากที่อําเภอโพธิ์ประทับชาง และอําเภอโพทะเล
   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55