Page 224 - รายงานสภาพการใช้ที่ดิน ปี พ.ศ.2563
P. 224

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                           193





                                   (5)  ไมผลอื่น ๆ ไดแก สม ทุเรียน มะขาม มะมวงหิมพานต ลําไย ฝรั่ง มะละกอ

                  ขนุน กระทอน มังคุด ลางสาด ลองกอง ระกํา สละ มะนาว แกวมังกร และสมโอ เปนตน  มีเนื้อที่รวม

                  2,517 ไร หรือคิดเปนรอยละ 0.05 ของเนื้อที่จังหวัด
                             5)  พืชสวน (A5) มีเนื้อที่ 2,286 ไร หรือรอยละ 0.05 ของเนื้อที่จังหวัด ไดแก พืชผัก
                  ไมดอก ไมประดับ นาหญา โดยมีพืชผัก (A502)  มีเนื้อที่ 2,246 ไร หรือคิดเปนรอยละ 0.05 ของเนื้อที่

                  จังหวัด และนาหญา มีเนื้อที่ 40 ไร
                             6)  ทุงหญาเลี้ยงสัตวและโรงเรือนเลี้ยงสัตว (A7) มีเนื้อที่ 2,964 ไร หรือคิดเปนรอยละ
                  0.07 ของเนื้อที่จังหวัด โดยมีทุงหญาเลี้ยงสัตว (A701)  มีเนื้อที่ 310 ไร หรือคิดเปนรอยละ 0.01

                  ของเนื้อที่จังหวัด โรงเรือนเลี้ยงโค กระบือ และมา (A702)  มีเนื้อที่ 251 ไร หรือคิดเปนรอยละ 0.01
                  ของเนื้อที่จังหวัด โรงเรือนเลี้ยงสัตวปก (A703)  มีเนื้อที่ 1,821 ไร หรือคิดเปนรอยละ 0.04 ของเนื้อที่
                  จังหวัด โรงเรือนเลี้ยงสุกร (A704) มีเนื้อที่ 582 ไร หรือคิดเปนรอยละ 0.01  ของเนื้อที่จังหวัด
                             7)  สถานที่เพาะเลี้ยงสัตวน้ํา  (A9) มีเนื้อที่ 53,142 ไร หรือคิดเปนรอยละ 1.15 ของ

                  เนื้อที่จังหวัด ประกอบดวย สถานที่เพาะเลี้ยงสัตวน้ําราง มีเนื้อที่ 4,443 ไร หรือคิดเปนรอยละ 0.10
                  ของเนื้อที่จังหวัด สถานที่เพาะเลี้ยงสัตวน้ําผสม มีเนื้อที่ 379 ไร ของเนื้อที่จังหวัด สถานที่เพาะเลี้ยงปลา
                  มีเนื้อที่ 539 ไร หรือคิดเปนรอยละ 0.01 ของเนื้อที่จังหวัด และสถานที่เพาะเลี้ยงกุง มีเนื้อที่ 47,781 ไร
                  หรือคิดเปนรอยละ1.03 ของเนื้อที่จังหวัด

                             8)  เกษตรผสมผสาน/ไรนาสวยผสม มีเนื้อที่ 129 ไร
                        2.21.3  พื้นที่ปาไม (F)  มีเนื้อที่ 592,909ไร หรือคิดเปนรอยละ 12.82 ของเนื้อที่จังหวัด
                  ประกอบดวย
                             1)    ปาไมผลัดใบ (F1) มีเนื้อที่ 560,553 ไร หรือคิดเปนรอยละ12.13 ของเนื้อที่จังหวัด

                  ประกอบดวย ปาไมผลัดใบรอสภาพฟนฟูมีเนื้อที่ 3,686 ไร หรือคิดเปนรอยละ 0.08 ของเนื้อที่จังหวัด
                  และปาไมผลัดใบสมบูรณมีเนื้อที่ 556,867 ไร หรือคิดเปนรอยละ 12.05 ของเนื้อที่จังหวัด
                             2)    ปาชายเลน (F3) มีเนื้อที่ 28,690 ไร หรือคิดเปนรอยละ 0.62  ของเนื้อที่จังหวัด

                  ประกอบดวย ปาชายเลนรอสภาพฟนฟูมีเนื้อที่ 72 ไร และปาชายเลนสมบูรณมีเนื้อที่ 28,618 ไร หรือ
                  คิดเปนรอยละ 0.62 ของเนื้อที่จังหวัด
                             3)    ปาพรุ (F4) มีเนื้อที่ 2,992 ไร หรือคิดเปนรอยละ 0.06  ของเนื้อที่จังหวัด ไดแก
                  ปาพรุรอสภาพฟนฟู มีเนื้อที่ 13 ไร และปาพรุสมบูรณ มีเนื้อที่ 2,979 ไร หรือคิดเปนรอยละ 0.06 ของ
                  เนื้อที่จังหวัด

                             4)    ปาปลูก (F5) มีเนื้อที่ 674 ไร หรือคิดเปนรอยละ 0.01 ของเนื้อที่จังหวัด
                  ประกอบดวย ปาปลูกรอสภาพฟนฟูมีเนื้อที่ 75 ไร และปาปลูกเลนสมบูรณมีเนื้อที่ 599 ไร หรือคิดเปน
                  รอยละ 0.01 ของเนื้อที่จังหวัด
                        2.21.4  พื้นที่น้ํา (W)  จังหวัดสงขลามีแหลงน้ํามากมายหลายประเภท กระจายอยูทั่วไปทุกอําเภอ

                  มีเนื้อที่รวม 394,781 ไร หรือคิดเปนรอยละ 8.55 ของเนื้อที่จังหวัด ไดแก
                             1)    แหลงน้ําธรรมชาติ (W1)  มีเนื้อที่รวม 374,534 ไร หรือคิดเปนรอยละ 8.11 ของ
                  เนื้อที่จังหวัด เชน แมน้ํา ลําหวย ลําคลอง หนอง บึง และทะเล
   219   220   221   222   223   224   225   226   227   228   229