Page 140 - รายงานสภาพการใช้ที่ดิน ปี พ.ศ.2563
P. 140

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                           116





                                   (3)  มันสําปะหลัง (A204) มีเนื้อที่  268,028 ไร หรือรอยละ 9.83 ของเนื้อที่

                  จังหวัด สวนใหญปลูกแทบทุกอําเภอในจังหวัดชลบุรี
                                   (4)  สับปะรด (A205) มีเนื้อที่ 81,460 ไร หรือรอยละ 2.99 ของเนื้อที่จังหวัด
                  ปลูกมากในเขตอําเภอศรีราชา อําเภอบานบึง อําเภอเกาะจันทร อําเภอบอทอง และอําเภอหนองใหญ

                  และอําเภอบางละมุง
                                   (5)  พืชไรอื่น ๆ ไดแก ถั่วเขียว มันเทศ แตงโม พริก มีเนื้อที่ 232 ไร และไรรางมี
                  เนื้อที่ 1,320 ไร หรือรอยละ 0.05 ของเนื้อที่จังหวัด
                             3)    ไมยืนตน (A3) มีเนื้อที่ 631,594 ไร หรือรอยละ 23.16 ของเนื้อที่จังหวัด ไดแก
                  ยางพารา ปาลมน้ํามัน ยูคาลิปตัส สัก และไมยืนตนอื่น ๆ

                                   (1)  ยางพารา (A302) มีเนื้อที่ 362,224 ไร หรือรอยละ 13.28 ของเนื้อที่จังหวัด
                  สวนใหญปลูกอยูในอําเภอบอทอง อําเภอหนองใหญ อําเภอเกาะจันทร และอําเภอบานบึง
                                   (2)  ปาลมน้ํามัน (A303) มีเนื้อที่ 148,506 ไร หรือรอยละ 5.45 ของเนื้อที่จังหวัด

                  สวนใหญปลูกอําเภอบอทอง อําเภอหนองใหญ อําเภอเกาะจันทร และอําเภอบานบึง
                                   (3)  ยูคาลิปตัส (A304) มีเนื้อที่ 102,901 ไร หรือรอยละ 3.77 ของเนื้อที่จังหวัด
                  สวนใหญปลูกกระจายอยูทั่วจังหวัด
                                   (4)  สัก (A305) มีเนื้อที่ 5,799 ไร หรือรอยละ 0.21 ของเนื้อที่จังหวัด

                                   (5)  ไมยืนตนอื่น ๆ ไดแก ไมยืนตนผสม สะเดา สนประดิพัทธ กระถิน ประดู
                  กาแฟ ไผปลูกเพื่อการคา หมาก จามจุรี ตีนเปด ยมหอม มะฮอกกานี กฤษณา ตะกู และไมยืนตนผสมราง
                  มีเนื้อที่ 12,614 ไร หรือรอยละ 0.45 ของเนื้อที่จังหวัด
                             4)    ไมผล (A4) มีเนื้อที่ 116,057 ไร หรือรอยละ 4.26 ของเนื้อที่จังหวัด ไดแก

                  มะพราว มะมวง และมะมวงหิมพานต และไมผลอื่น ๆ
                                   (1)  มะพราว (A405) มีเนื้อที่ 46,283 ไร หรือรอยละ 1.70 ของเนื้อที่จังหวัด
                  สวนใหญปลูกอยูในอําเภอศรีราชา อําเภอบางละมุง และอําเภอสัตหีบ
                                   (2)  มะมวง (A407)  มีเนื้อที่ 12,357 ไร หรือรอยละ 0.45 ของเนื้อที่จังหวัด

                  สวนใหญปลูกกระจายทั่วทั้งจังหวัด
                                   (3)  มะมวงหิมพานต (A408)  มีเนื้อที่ 11,417 ไร หรือรอยละ 0.42 ของเนื้อที่
                  จังหวัด สวนใหญปลูกอยูในอําเภอบานบึง อําเภอเกาะจันทร อําเภอหนองใหญ ละอําเภอบอทอง

                                   (4)  ไมผลอื่น ๆ ไดแก ไมผลราง/เสื่อมโทรม สม ทุเรียน เงาะ มะพราว ลิ้นจี่
                  นอยหนา กลวย มะขาม ลําไย ฝรั่ง มะละกอ ขนุน กระทอน มังคุด ลางสาด ลองกอง ระกํา สละ
                  มะนาว แกวมังกร สมโอ ละมุด และไมผลผสม มีเนื้อที่ 46,000 ไร หรือรอยละ 1.69 ของเนื้อที่จังหวัด
                             5)    พืชสวน (A5) มีเนื้อที่ 4,136 ไร หรือรอยละ 0.15 ของเนื้อที่จังหวัด ไดแก พืชผัก
                  ไมดอกไมประดับ องุน พืชสมุนไพร นาหญา เห็ด และพืชสวนราง/เสื่อมโทรม

                                   (1)  พืชผัก (A502) มีเนื้อที่ 2,534 ไร หรือรอยละ 0.09 ของเนื้อที่จังหวัด
                                   (2)  พืชสวนอื่น ๆ ไดแก ไมดอกไมประดับ องุน พืชสมุนไพร นาหญา เห็ด และ
                  พืชสวนราง/เสื่อมโทรม มีเนื้อที่ 1,602 ไร หรือรอยละ 0.06 ของเนื้อที่จังหวัด
   135   136   137   138   139   140   141   142   143   144   145