Page 120 - รายงานสภาพการใช้ที่ดิน ปี พ.ศ.2563
P. 120

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                            98





                                   (6)  ไมยืนตนอื่น ๆ ไดแก ไมยืนตนผสม กระถิน กาแฟ ไผ ปลูกเพื่อการคา นุน

                  เปลา หมาก และตะกู มีเนื้อที่ 9,570 ไร หรือคิดเปนรอยละ 0.24 ของเนื้อที่จังหวัด และไมยืนตนราง/
                  เสื่อมโทรม มีเนื้อที่ 12 ไร
                             4)    ไมผล (A4) มีเนื้อที่ 489,786 ไร หรือรอยละ 12.29 ของเนื้อที่จังหวัด ไดแก

                                   (1)  ไมผลผสม (A401)  มีเนื้อที่ 31,137 ไร หรือคิดเปนรอยละ 0.78 ของเนื้อที่
                  จังหวัด มีการปลูกกระจายทั่วทุกอําเภอของจังหวัด
                                   (2)  มะพราว (A405)  มีเนื้อที่ 362,819 ไร หรือคิดเปนรอยละ 9.12 ของเนื้อที่
                  จังหวัด สวนใหญปลูกอยูในอําเภอเมืองประจวบคีรีขันธ อําเภอทับสะแก อําเภอบางสะพาน อําเภอ
                  บางสะพานนอย และมีการปลูกกระจายทั่วทุกอําเภอของจังหวัด

                                   (3)  มะมวง (A407)  มีเนื้อที่ 74,109 ไร หรือคิดเปนรอยละ 1.86 ของเนื้อที่
                  จังหวัด สวนใหญปลูกอยูในอําเภอหัวหิน อําเภอปราณบุรี อําเภอสามรอยยอด อําเภอกุยบุรี และอําเภอ
                  เมืองประจวบคีรีขันธ เปนตน

                                   (4)  กลวย (A411) มีเนื้อที่ 5,904 ไร หรือคิดเปนรอยละ 0.15 ของเนื้อที่จังหวัด
                  สวนใหญปลูกอยูในอําเภอสามรอยยอด อําเภอกุยบุรี อําเภอเมืองประจวบคีรีขันธ และกระจายอยูทั่ว
                  ทุกอําเภอของจังหวัด
                                   (5)  ขนุน (A416)  มีเนื้อที่ 9,910 ไร หรือคิดเปนรอยละ 0.25 ของเนื้อที่จังหวัด

                  สวนใหญปลูกอยูในอําเภอสามรอยยอด อําเภอกุยบุรี อําเภอเมืองประจวบคีรีขันธ เปนตน
                                   (6)  มะนาว (A422)  มีเนื้อที่ 4,149 ไร หรือคิดเปนรอยละ 0.10 ของเนื้อที่
                  จังหวัด สวนใหญปลูกอยูในอําเภอหัวหิน เปนตน
                                   (7)  ไมผลอื่น ๆ ไดแก ทุเรียน มะมวงหิมพานต มะขาม ลําไย ฝรั่ง มะละกอ

                  ชมพู มังคุด มะขามเทศ แกวมังกร และไมผลราง/เสื่อมโทรม มีเนื้อที่ 1,758 ไร หรือคิดเปนรอยละ 0.03
                  ของเนื้อที่จังหวัด
                             5)    พืชสวน (A5)  มีเนื้อที่ 3,290 ไร หรือรอยละ 0.08 ของเนื้อที่จังหวัด ไดแก พืชผัก
                  ไมดอก ไมประดับ นาหญา โดยมีพืชผัก (A502)  มีเนื้อที่ 1,440 ไร หรือคิดเปนรอยละ 0.04 ของเนื้อที่

                  จังหวัด ไมดอก ไมประดับ มีเนื้อที่ 64 ไร และนาหญา มีเนื้อที่ 1,786 ไร หรือคิดเปนรอยละ 0.04 ของ
                  เนื้อที่จังหวัด
                             6)    ทุงหญาเลี้ยงสัตวและโรงเรือนเลี้ยงสัตว (A7) มีเนื้อที่ 5,798 ไร หรือคิดเปนรอยละ

                  0.15 ของเนื้อที่จังหวัด โดยมีทุงหญาเลี้ยงสัตว (A701) มีเนื้อที่ 2,262 ไร หรือคิดเปนรอยละ 0.06 ของ
                  เนื้อที่จังหวัดโรงเรือนเลี้ยงโค กระบือ และมา (A702) มีเนื้อที่ 1,746 ไร หรือคิดเปนรอยละ 0.04  ของ
                  เนื้อที่จังหวัด โรงเรือนเลี้ยงสัตวปก (A703)  มีเนื้อที่ 1,072 ไร หรือคิดเปนรอยละ 0.03 ของเนื้อที่
                  จังหวัด โรงเรือนเลี้ยงสุกร (A704)  มีเนื้อที่ 703 ไร หรือคิดเปนรอยละ 0.02  ของเนื้อที่จังหวัด และ
                  โรงเรือนราง (A700) มีเนื้อที่ 15 ไร

                          7) พืชน้ํา (A8) ไดแก กก มีเนื้อที่  208  ไร หรือคิดเปนรอยละ  0.01 ของเนื้อที่จังหวัด
                          8)  สถานที่เพาะเลี้ยงสัตวน้ํา (A9)  มีเนื้อที่ 74,487 ไร หรือคิดเปนรอยละ 1.87 ของเนื้อที่
                  จังหวัด ประกอบดวยสถานที่เพาะเลี้ยงสัตวน้ําราง มีเนื้อที่ 11,469 ไร หรือคิดเปนรอยละ 0.29 ของเนื้อ

                  ที่จังหวัด สถานที่เพาะเลี้ยงสัตวน้ําผสม มีเนื้อที่ 46 ไร ของเนื้อที่จังหวัด สถานที่เพาะเลี้ยงปลามีเนื้อที่
   115   116   117   118   119   120   121   122   123   124   125