Page 142 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองวังยาวแปลงที่ สบ. 4 จังหวัดสระบุรี : พื้นที่ดำเนินการ บ้านหนองมะกรูด หมู่ที่ 12 บ้านซับสนุ่น หมู่ที่ 9 บ้านซับขอน หมู่ที่ 12 และบ้านหนองจอก หมู่ที่ 8 ตำบลหนองย่างเสือ อำเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี ลุ่มน่ำสาขาแม่น้ำป่าสักตอนล่าง (รหัส 1208) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำป่าสัก (รหัส 12)
P. 142

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                      104


                              4) การใชเปนเสนแนวถนน

                                การใชเปนเสนแนวถนน พบวา ดินไมเหมาะสมสําหรับการใชเปนเสนแนวถนน เนื่องจาก
                       พบขอจํากัดในเรื่องการจําแนกดินตามระบบ Unified (3a) ไดแก หนวยแผนที่ Tw-vd-clC/d5,E1
                       Ws-clC/d3sh,E1 Ws-sgclC/d3sh,E1 Ws-clB/d4sh,E1 Ws-clC/d4sh,E1 และ Ws-clC/d5,E1 มีเนื้อที่

                       3,375 ไร หรือรอยละ 16.58 พบขอจํากัดเรื่องการจําแนกดินตามระบบ Unified และความลึก
                       ถึงชั้นหินพื้น (3ac) ไดแก หนวยแผนที่ Ml-sgclB/d2sh,E1 Ml-sgclC/d2sh,E1 Ml-gclC/d2sh,E1
                       Ml-gclD/d2sh,E2 Ml-f-clB/d2sh,E1 และ Ml-f-clC/d2sh,E1 มีเนื้อที่ 10,670 ไร หรือรอยละ 52.32

                       และพบขอจํากัดเรื่องการจําแนกดินตามระบบ Unified และพื้นที่มีความลาดชันมากกวา 20
                       เปอรเซ็นต (3at) ไดแก หนวยแผนที่ Ml-gclE/d2sh,E2 และ Ws-gclE/d3sh,E2 มีเนื้อที่ 1,709 ไร หรือ
                       รอยละ 8.38

                              5) การใชเปนบอขุด

                                 การใชเปนบอขุด พบวา ทุกหนวยแผนที่ดินไมเหมาะสมสําหรับการใชเปนบอขุด เนื่องจาก
                       พบขอจํากัดในเรื่องความซึมน้ําของดินใตความลึกของบอขุดคอนขางเร็ว (3k) มีเนื้อที่ 15,754 ไร หรือ
                       รอยละ 77.28

                              6) การใชเปนอางเก็บน้ําขาดเล็ก

                                 การใชเปนอางเก็บน้ําขนาดเล็ก พบวา ดินไมเหมาะสมสําหรับการใชเปนอางเก็บน้ํา
                       ขนาดเล็กเนื่องจากพบขอจํากัดในเรื่องความซึมน้ําของดินคอนขางเร็ว (3k) ไดแก หนวยแผนที่
                       Ml-sgclB/d2sh,E1 Ml-sgclC/d2sh,E1 Ml-gclC/d2sh,E1 Ml-f-clB/d2sh,E1 Ml-f-clC/d2sh,E1 Tw-vd-clC/d5,E1

                       Ws-clC/d3sh,E1 Ws-sgclC/d3sh,E1 Ws-clB/d4sh,E1 Ws-clC/d4sh,E1 และ Ws-clC/d5,E1 มีเนื้อที่
                       13,828 ไร หรือรอยละ 67.84 พบขอจํากัดเรื่องความซึมน้ําของดินคอนขางเร็วและพื้นที่มีความลาดชัน

                       มากกวา 20 เปอรเซ็นต (3kt)  ไดแก หนวยแผนที่ Ml-gclD/d2sh,E2 Ml-gclE/d2sh,E2 และ Ws-gclE/d3sh,E2
                       มีเนื้อที่ 1,926 ไร หรือรอยละ 9.44
                              7) การใชเปนคันกั้นน้ํา

                                 การใชเปนคันกั้นน้ํา พบวา ดินเหมาะสมปานกลางสําหรับการใชสรางคันกั้นน้ํา พบขอ

                       จํากัดในเรื่องการจําแนกดินตามระบบ Unified (2a) ไดแก หนวยแผนที่ Tw-vd-clC/d5,E1 และ
                       Ws-clC/d5,E1 มีเนื้อที่ 477 ไร หรือรอยละ 2.35 พบขอจํากัดเรื่องการจําแนกดินตามระบบ Unified
                       และความหนาของวัสดุที่เหมาะสม (2ab) ไดแก หนวยแผนที่ Ws-clC/d3sh,E1 Ws-sgclC/d3sh,E1
                       Ws-gclE/d3sh,E2 Ws-clB/d4sh,E1 และ Ws-clC/d4sh,E1 มีเนื้อที่ 3,859 ไร หรือรอยละ 18.94

                                 ดินไมเหมาะสมสําหรับการใชสรางคันกั้นน้ํา เนื่องจากพบขอจํากัดในเรื่องความหนา

                       ของวัสดุที่เหมาะสม (3b) ไดแก Ml-sgclB/d2sh,E1 Ml-sgclC/d2sh,E1 Ml-gclC/d2sh,E1 Ml-gclD/d2sh,E2
                       Ml-gclE/d2sh,E2 Ml-f-clB/d2sh,E1 และ Ml-f-clC/d2sh,E1 มีเนื้อที่ 11,418 ไร หรือรอยละ 55.99
   137   138   139   140   141   142   143   144   145   146   147