Page 114 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองวังยาวแปลงที่ สบ. 4 จังหวัดสระบุรี : พื้นที่ดำเนินการ บ้านหนองมะกรูด หมู่ที่ 12 บ้านซับสนุ่น หมู่ที่ 9 บ้านซับขอน หมู่ที่ 12 และบ้านหนองจอก หมู่ที่ 8 ตำบลหนองย่างเสือ อำเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี ลุ่มน่ำสาขาแม่น้ำป่าสักตอนล่าง (รหัส 1208) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำป่าสัก (รหัส 12)
P. 114

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       82


                       5. ธรณีสัณฐานและวัตถุตนกําเนิดดิน

                              จากการศึกษาขอมูลทรัพยากรดินและขอมูลธรณีวิทยา (กองสํารวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน,
                       2553; กรมทรัพยากรธรณี, 2550) พบวา ธรณีสัณฐานในพื้นที่ดําเนินการเปนบริเวณพื้นที่ที่เหลือคาง
                       จากกระบวนการเกลี่ยผิวแผนดิน (erosional terrain) โดยกระบวนการผุพังสลายตัว (weathering)

                       การกรอน (erosion) การแตกหลุดของมวลเศษหินและถูกพัดพา (degradation) ของหินตาง ๆ รวมทั้ง
                       การละลายน้ําของหินปูน ทําใหพื้นที่ที่เปนภูเขามีการปรับระดับลงเปนพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาด
                       (undulating) หรือเนินเขา (hill) ขึ้นอยูกับชนิดของหินในบริเวณนั้น หินสวนที่ผุพังงายหรือออนก็จะผุ

                       พังอยูกับที่หรือเคลื่อนยายออกไปสะสมในบริเวณที่ต่ํากวาตามแรงโนมถวงของโลก ทําใหเกิดสภาพ
                       พื้นเปนเนินเขาเตี้ย ๆ สวนหินที่คงทนตอการสลายตัวก็จะเหลือพื้นที่เปนเนินเขาสูงหรือภูเขาสูง

                              วัตถุตนกําเนิดดิน เกิดจากการสลายตัวผุพังอยูกับที่ (residuum) และ/หรือ เคลื่อนยายมา
                       ทับถมโดยแรงโนมถวงของโลกตามบริเวณไหลเขาหรือที่ลาดเชิงเขา (colluvium) ของหินดินดาน
                       (shale) และหินปูน (lime stone) ซึ่งเปนหินตะกอนที่มีเนื้อละเอียด ลักษณะดินที่พบสวนใหญมีการ

                       ปะปนของหินดังกลาว ดินอาจเกิดจากการพัฒนาอยูกับที่ของหินพื้นในบริเวณนั้นหรือสามารถ
                       พัฒนาขึ้นมาใหมจากหินที่สลายตัวผุพังแลวเคลื่อนยายมาทับถมอีกบริเวณหนึ่ง

                       6. ทรัพยากรดิน

                              จากการสํารวจดินในพื้นที่ดําเนินการ ระดับมาตราสวน 1:4,000 สามารถจําแนกดินตาม
                       ระบบอนุกรมวิธานดิน (Soil taxonomy, 2014) ในระดับประเภทของชุดดินหรือดินคลาย (phases
                       of soil series or soil variants) ได 2 ชุดดิน 2 ดินคลาย และ 4 หนวยแผนที่เบ็ดเตล็ด พรอมทั้ง

                       ประเมินระดับความอุดมสมบูรณของดินไดดังนี้ (ตารางที่ 22 - ตารางที่ 24 และ ภาพที่ 17)


                       ตารางที่ 22 สรุปการจําแนกดินตามระบบอนุกรมวิธานดิน (Keys to Soil Taxonomy, 2014)
                                 พื้นที่ดําเนินการ ตําบลหนองยางเสือ อําเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี

                                     ชุดดินหรือดินคลาย                         การจําแนกดิน

                        1. ชุดดินมวกเหล็ก (Muak Lek series : MI)    Clayey-skeletal, mixed, semiactive,
                                                                    shallow, isohyperthermic, Ultic
                                                                    Haplustalfs

                        2. ดินคลายชุดดินมวกเหล็กที่เปนดินเนื้อละเอียด   Fine, mixed, semiactive, shallow,
                          (Muak Lek fine variants : MI-f)           isohyperthermic, Ultic Haplustalfs

                        3. ดินคลายชุดดินทับกวางที่เปนดินลึกมาก    Fine, mixed, active, isohyperthermic,
                           (Thap Kwang series : Tw)                 Ultic Haplustalfs

                        4. ชุดดินวังสะพุง (Wang Saphung series : Ws)   Fine, mixed, active, isohyperthermic,
                                                                    Ultic Haplustalfs
   109   110   111   112   113   114   115   116   117   118   119