Page 44 - มาตรการอนุรักษ์ดินและน้ำที่เหมาะสมในการปลูกข้าวไร่บนพื้นที่สูงในเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำแม่จันตอนบน ตำบลแม่สลองนอก อำเภอแม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย
P. 44
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
34
ขอบเขาในแนวดิ่ง 4 เมตร (V.I.=4 ม.), วิธีการที่ 1 ปลูกข้าวไร่ ไม่มีระบบอนุรักษ์ดินและน้ า, และ
วิธีการที่ 5. ปลูกข้าวไร่ มีแถบหญ้าแฝก ที่ระยะห่างคูรับน้ าขอบเขาในแนวดิ่ง 8 เมตร (V.I.=8 ม.) มี
ค่าเท่ากับ 275.67, 262.00, 253.67, 241.00, 239.00 และ 237.67 กิโลกรัม/ไร่ ตามล าดับ
ปี 2559 มีค่าปริมาณผลผลิตผันแปรอยู่ในช่วง 291.33 -321.67 กิโลกรัม/ไร่ โดยมีค่าผลผลิต
สูงสุด วิธีการที่ 6 ปลูกข้าวไร่ มีแถบชาอัสสัม ที่ระยะห่างคูรับน้ าขอบเขาในแนวดิ่ง 4 เมตร (V.I.=4
ม.) มี 321.67 กิโลกรัม/ไร่ รองลงมาคือ วิธีการที่ 7 ปลูกข้าวไร่ มีแถบชาอัสสัมที่ระยะห่างคูรับน้ า
ขอบเขาในแนวดิ่ง 8 เมตร (V.I.=8 ม.), วิธีการที่ 3 ปลูกข้าวไร่ มีคูรับน้ าขอบเขาที่มีระยะห่างคูรับน้ า
ขอบเขาในแนวดิ่ง 8 เมตร (V.I.=8 ม.), วิธีการที่ 2 ปลูกข้าวไร่ มีคูรับน้ าขอบเขาที่มีระยะห่างคูรับ น้ า
ขอบเขาในแนวดิ่ง 4 เมตร (V.I.=4 ม.), วิธีการที่ 5 ปลูกข้าวไร่ มีแถบหญ้าแฝก ที่ระยะห่างคูรับน้ า
ขอบเขาในแนวดิ่ง 8 เมตร (V.I.=8 ม.), วิธีการที่ 4 ปลูกข้าวไร่ มีแถบหญ้าแฝก ที่ระยะห่างคูรับน้ า
ขอบเขาในแนวดิ่ง 4 เมตร (V.I.=4 ม.), และวิธีการที่ 1 ปลูกข้าวไร่ ไม่มีระบบอนุรักษ์ดินและน้ า มีค่า
เท่ากับ 320.33, 308.00, 241.00, 307.67, 296.67 และ 291.33 กิโลกรัม/ไร่ ตามล าดับ
ผลผลิตข้าวไร่เฉลี่ย 3 ปี เมื่อเปรียบเทียบกัน วิธีการที่ 6 ปลูกข้าวไร่ มีแถบชาอัสสัม ที่
ระยะห่างคูรับน้ าขอบเขาในแนวดิ่ง 4 เมตร (V.I.=4 ม.) มีแนวโน้มให้ผลผลิตเฉลี่ยข้าวไร่สูงสุด
302.67 กิโลกรัมต่อไร่ และ วิธีการที่ 7 ปลูกข้าวไร่ มีแถบชาอัสสัมที่ระยะห่างคูรับน้ าขอบเขาใน
แนวดิ่ง 8 เมตร (V.I.=8 ม.) มีแนวโน้มให้ผลผลิตข้าวไร่รองลงมา 298.89 กิโลกรัมต่อไร่ ส่วนวิธีการที่
1. ปลูกข้าวไร่ ไม่มีระบบอนุรักษ์ดินและน้ า ให้ผลผลิตข้าวไร่เฉลี่ยต่ าสุด 274.22 กิโลกรัมต่อไร่
(ตารางที่ 9) (ภาพที่ 8)
แสดงให้เห็นถึงผลผลิตของข้าวไร่ เปรียบเทียบกันทั้ง 3 ปี ผลผลิตของข้าวไร่ปี 2559 ได้
จ านวนผลผลิตรวมมากที่สุด 2,147.67 กิโลกรัมต่อปี รองลงมาผลผลิตของข้าวไร่ปี 2557 ได้จ านวน
ผลผลิตรวม 2,096.00 กิโลกรัมต่อปี แต่ผลผลิตรวมข้าวไร่ปี 2558 ได้น้อยที่สุดปี 1,797.30 กิโลกรัม
ต่อปี เมื่อเปรียบเทียบกับเก็บข้อมูลปริมาณน้ าฝนในแต่ละวันจากเครื่องวัดฝนแบบ Non-Recording
Rain gage แบบ Cylinder Type ที่ติดตั้งไว้บริเวณแปลงทดลองและปริมาณน้ าฝนรวม ในปี พ.ศ.
2557 มีปริมาณน้ าฝนเฉลี่ย 1,565 มิลลิเมตร ฝนเริ่มตกตั้งแต่เดือน มกราคม สิ้นสุดเดือน ธันวาคมมี
ปริมาณน้ าฝนเพียงพอส าหรับการเจริญเติบโตของข้าวไร่ หญ้าแฝกและชา ในช่วงแล้งเดือน มกราคม-
กุมภาพันธ์ จะมีปริมาณน้ าฝนเพียงเล็กน้อยในปี พ.ศ.2558 มีปริมาณน้ าฝนเฉลี่ย 1,170 มิลลิเมตร
ฝนเริ่มตก ตั้งแต่เดือน พฤษภาคม สิ้นสุดเดือน ธันวาคมในช่วงแล้งเดือน มกราคม-เมษายนไม่มี
ปริมาณน้ าฝนแต่ยังพอมีความชื้นในดินอยู่บ้าง ในช่วงเดือน มิถุนายน ซึ่งเข้าสู่ช่วงฤดูฝน จะปลูกข้าว
ไร่มีน้ าเพียงพอต่อการเจริญเติบโต แต่ในปี พ.ศ.2558 เป็นปีที่ประเทศไทยมีอากาศร้อนมาก ทั้ง
ในช่วงกลางวันและกลางคืน ในปี พ.ศ.2559 มีปริมาณน้ าฝนเฉลี่ย 1,635 มิลลิเมตร ฝนเริ่มตกใน
เดือน พฤษภาคม สิ้นสุดเดือน พฤศจิกายนมีปริมาณน้ าฝนเพียงพอส าหรับการเจริญเติบโตของข้าวไร่