Page 23 - การจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ โครงการขยายผลโครงการหลวงวาวี บ้านดอยช้าง หมู่ 3 ตำบลวาวี อำเภอแม่สรวย จังหวัดเชียงราย
P. 23

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       12


                   มีปริมาณน้่าฝนใช้การได้มากที่สุด 159.1 มิลลิเมตร และเดือนกุมภาพันธ์ มีปริมาณน้่าฝนใช้การได้น้อยที่สุด
                   คือ 15.3 มิลลิเมตร

                              4)  ความชื้นสัมพัทธ์และศักยภาพการคายระเหยน้่า
                                พื้นที่โครงการขยายผลโครงการหลวงวาวี พบว่า มีความชื้นสัมพัทธ์เฉลี่ยตลอดปี 80.0
                   เปอร์เซ็นต์ ปริมาณการคายระเหยเฉลี่ยตลอดปี 97.0 มิลลิเมตร ปริมาณการคายระเหยสูงสุด 126.5
                   มิลลิเมตร ในเดือนพฤษภาคม ปริมาณการคายระเหยต่่าสุด 67.3 มิลลิเมตร ในเดือนธันวาคม

                              5)  ความสมดุลน้่าและช่วงฤดูกาลที่เหมาะสมส่าหรับปลูกพืช
                                  การสมดุลของน้่าและความชื้นในดินเพื่อการเกษตร (ภาพที่ 3)  แสดงให้เห็นถึง
                   ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณน้่าฝน (precipitation)   และค่าศักย์การคายระเหยน้่า (potential
                   evapotranspiration) ซึ่งจะท่าให้ทราบถึงช่วงและปริมาณของการขาดน้่า (water deficiency) และช่วง

                   ปริมาณน้่ามากเกินพอ (water  surplus)  โดยที่ปริมาณน้่าฝน แสดงถึงจ่านวนน้่าที่ได้รับเข้ามา ส่วนค่า
                   ศักย์การคายระเหยน้่า แสดงถึงปริมาณน้่าที่สูญเสียไป การวิเคราะห์ช่วงฤดูเพาะปลูกพืชเพื่อหาช่วงเวลาที่
                   เหมาะสมในการปลูกพืช โดยใช้ข้อมูลปริมาณน้่าฝนเฉลี่ย และค่าศักยภาพการคายระเหยน้่าของพืช
                   รายเดือนเฉลี่ย (Evapotranspiration  :  ETo)  ซึ่งค่านวณและพิจารณาจากระยะเวลาช่วงที่เส้นน้่าฝน

                   อยู่เหนือเส้น 0.5 ETo ถือเป็นช่วงระยะเวลาที่เหมาะสมในการปลูกพืช จากการวิเคราะห์ช่วงฤดูกาลที่
                   เหมาะสมจากการปลูกพืชเศรษฐกิจ สามารถสรุปได้ดังนี้
                                  ช่วงที่มีน้่าเพียงพอ (Utilized period)  คือ ช่วงที่มีปริมาณน้่าฝนมากกว่าครึ่งหนึ่งของ

                   ค่าศักย์ของการระเหยน้่า (0.5PET) แต่ไม่เกินค่าศักย์ของการระเหยน้่า อยู่ในช่วงต้นเดือนเมษายนถึง
                   ปลายเดือนเมษายน และในช่วงปลายเดือนตุลาคมถึงปลายเดือนพฤศจิกายน แสดงว่าปริมาณน้่าฝนในช่วง
                   ดังกล่าวท่าให้ดินมีความชื้นเพียงพอต่อการเจริญเติบโตของพืช
                                      ช่วงขาดน้่า (Deficit  period)  คือ ช่วงที่มีปริมาณฝนตกน้อยกว่าครึ่งหนึ่งของค่าศักย์
                   ของการระเหยน้่า (0.5PET) อยู่ในช่วงระหว่างปลายเดือนพฤศจิกายนจนถึงต้นเดือนเมษายนของปีถัดไป

                   แสดงว่าปริมาณน้่าฝนในช่วงดังกล่าวมีไม่เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของพืช
                                      ช่วงน้่ามากเกินพอ (Surplus water period) คือช่วงที่มีปริมาณน้่าฝนมากกว่าค่าศักย์
                   ของการระเหยน้่า (PET)  อยู่ในช่วงระหว่างปลายเดือนเมษายนถึงปลายเดือนตุลาคม แสดงว่าปริมาณ

                   น้่าฝนในช่วงดังกล่าวเป็นช่วงที่ความสมดุลของน้่าในดินมีมากเกินความต้องการของพืช
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28