Page 64 - ผลสำเร็จของการดำเนินงาน โครงการเขตพัฒนาที่ดินพื้นที่ลุ่มน้ำคลองรับร่อ บ้านจันทึง หมู่ที่ 5 ตำบลหินแก้ว อำเภอท่าแซะ จังหวัดชุมพร
P. 64

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                       48


                  4. การประเมินการสูญเสียดิน
                       การศึกษาอัตราการชะล้างพังทลายของดิน พื้นที่ด าเนินการ บ้านจันทึง หมู่ที่ 5 ต าบลหินแก้ว อ าเภอ

               ท่าแซะ จังหวัดชุมพร พบว่ามีการสูญเสียดิน 5 ระดับ ดังนี้ (ภาพที่ 8)
                      1.  ระดับการสูญเสียดินน้อยมาก คือ สูญเสียดิน 0-2 ตันต่อไร่ต่อปี มีเนื้อที่รวมประมาณ 170 ไร่
               หรือร้อยละ 3.05 ของพื้นที่ด าเนินการ
                      2. ระดับการสูญเสียดินน้อย คือ สูญเสียดิน 2-5 ตันต่อไร่ต่อปี มีเนื้อที่รวมประมาณ 1,966 ไร่ หรือ

               ร้อยละ 35.26 ของพื้นที่ด าเนินการ มาตรการอนุรักษ์ดินและน้ าในชั้นนี้สามารถใช้วิธีไม่ยุ่งยาก เช่น ปลูกพืช
               ตามแนวระดับ หรือใช้วัสดุคลุมดินเป็นต้น
                      3. ระดับการสูญเสียดินปานกลาง คือ สูญเสีย 5-15 ตันต่อไร่ต่อปี มีเนื้อที่รวมประมาณ  1,621 ไร่
               หรือร้อยละ 29.08 ของพื้นที่ด าเนินการ การท าการเกษตรในพื้นที่ที่มีความลาดชันระดับนี้จ าเป็นต้องมี

               มาตรการอนุรักษ์ดินและน้ าควบคู่ไปด้วย เช่นปลูกพืชขวางแนวลาดชัน การท าคันดินหรือแนวพืชที่มีรากลึก
               เพื่อชะลอความเร็วของน้ าและเก็บกักตะกอนดิน เช่น ปลูกหญ้าแฝกเป็นต้น
                      4. ระดับการสูญเสียดินรุนแรง คือ สูญเสียดิน 15-20 ตันต่อไร่ต่อปี มีเนื้อที่รวมประมาณ 976 ไร่
               หรือร้อยละ 17.51 ของพื้นที่ด าเนินการ การท าการเกษตรในพื้นที่ที่มีความลาดชันระดับนี้จ าเป็นต้องมี

               มาตรการอนุรักษ์ดินและน้ าแบบเข้มงวด โดยใช้หลายมาตรการควบคู่กันไปทั้งวิธีกลและวิธีพืช
                      5. ระดับการสูญเสียดินรุนแรงมากที่สุด คือ สูญเสียดินมากกว่า 20 ตันต่อไร่ต่อปี มีเนื้อที่รวม
               ประมาณ 720 ไร่ หรือร้อยละ 12.91 ของพื้นที่ เนื่องจากพื้นที่มีการสูญเสียดินสูงมาก พื้นที่มักปรากฏการชะ

               ล้างพังทลายแบบร่องลึก ต้องใช้มาตรการอนุรักษ์ดินและน้ าแบบเข้มข้น และลงทุนสูงไม่คุ้มค่ากับผลตอบแทน
               ทางการเกษตร สมควรปล่อยพื้นที่ให้ฟื้นฟูเป็นพื้นที่ปุาไม้
                      6. พื้นที่ไม่ได้จ าแนกระดับการสูญเสียดิน มีเนื้อที่รวมประมาณ 122 ไร่ หรือ ร้อยละ 2.19 ของพื้นที่
               ด าเนินการ ซึ่งได้แก่ ชุมชน ที่อยู่อาศัย สิ่งก่อสร้าง และแหล่งน้ าตามธรรมชาติ
                      ผลจากการวิเคราะห์สถานภาพทรัพยากรที่ดินและอัตราชะล้างพังทลายของดิน พื้นที่ด าเนินการ บ้าน

               จันทึง หมู่ที่ 5 ต าบลหินแก้ว อ าเภอท่าแซะ จังหวัดชุมพร สามารถน ามาล าดับความส าคัญของการฟื้นฟูลุ่มน้ า
               สามารถล าดับความส าคัญในการฟื้นฟูลุ่มน้ าโดยแบ่งตามสภาพปัญหาในแต่ละสภาพพื้นที่ได้ดังนี้
                      1. พื้นที่ที่มีล าดับความส าคัญในการฟื้นฟูล าดับที่ 1 สภาพพื้นที่จะมีความลาดชันสูง การใช้ที่ดินมี

               ข้อจ ากัดมาก อัตราการชะล้างพังทลายอยู่ในระดับที่รุนแรงและรุนแรงมาก พื้นที่ดังกล่าวได้แก่บริเวณลุ่ม
               น้ าย่อย A ลุ่มน้ าย่อย B ลุ่มน้ าย่อย C และลุ่มน้ าย่อD การใช้ที่ดินบริเวณนี้นอกจากที่ดินจะมีแนวโน้มที่จะเสื่อม
               โทรมเร็ว และยุ่งยากต่อการจัดการแล้ว การที่มีอัตราการชะล้างพังทลายรุนแรงที่ท าให้สูญเสียหน้าดิน ยัง
               ส่งผลกระทบในเรื่องของคุณภาพน้ าที่มีตะกอนดินปนลงไปจ านวนมาก ดังนั้นพื้นที่บริเวณนี้สมควรต้องมี

               มาตรการเร่งด่วนและเข้มงวดในการฟื้นฟู
                      2.  พื้นที่ที่มีล าดับความส าคัญในการฟื้นฟูล าดับที่ 2 พื้นที่ดังกล่าวได้แก่บริเวณลุ่มน้ าย่อย  E ลุ่ม
               น้ าย่อย F และลุ่มน้ าย่อย G สภาพพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ราบเรียบ การใช้ที่ดินมีข้อจ ากัดน้อยมาก สามารถที่
               จะจัดการฟื้นฟูได้ง่าย อัตราการชะล้างพังทลายของดินมีน้อย

                      การก าหนดแนวทางการฟื้นฟูลุ่มน้ าควรก าหนดแนวทางตามสภาพปัญหาและควรจะต้องท าหลาย
               กิจกรรมในการฟื้นฟูไปพร้อมๆ กันและเป็นระบบอย่างต่อเนื่องเพื่อเป็นการฟื้นฟูลุ่มน้ าแบบยั่งยืนได้
   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69