Page 54 - การเปรียบเทียบชนิดปุ๋ยที่เหมาะสมต่อการปลูกข้าวสังข์หยดในกลุ่มชุดดินที่ 6 จังหวัดพัทลุง
P. 54

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       41


                   และน้ าหมักชีวภาพ ให้ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจต่ าสุดเท่ากับ 1,913.20 บาทต่อไร่ ส าหรับผลตอบแทน
                   ทางเศรษฐกิจเฉลี่ย 3 ปี พบว่า ต ารับที่ 2  ปุ๋ยเคมีอัตราตามค่าวิเคราะห์ดินจากโปรแกรมปุ๋ยรายแปลง
                   ร่วมกับปุ๋ยพืชสดและน้ าหมักชีวภาพ ให้ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจเฉลี่ยสูงสุดเท่ากับ 3,789.01 บาทต่อไร่

                   รองลงมาคือต ารับที่ 3  ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงอัตราตามค าแนะน า  ร่วมกับปุ๋ยพืชสดและน้ าหมักชีวภาพ
                   และต ารับที่ 1 วิธีเกษตรกร ให้ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจเฉลี่ยเท่ากับ 3,730.02 และ 2,951.32 บาทต่อไร่
                   ตามล าดับ ส่วนต ารับที่ 4 ปุ๋ยชีวภาพ พด.12 ร่วมกับปุ๋ยเคมีอัตราครึ่งหนึ่งของค าแนะน าตามค่าวิเคราะห์
                   ดินจากโปรแกรมปุ๋ยรายแปลง  ร่วมกับปุ๋ยพืชสดและน้ าหมักชีวภาพ ให้ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจเฉลี่ย

                   ต่ าสุดเท่ากับ 2,146.95  บาทต่อไร่ จะเห็นได้ว่าจากค่าเฉลี่ยทั้ง  3  ปี เมื่อเปรียบเทียบกับต ารับที่ 1  วิธี
                   เกษตรกร พบว่า ต ารับที่ 2 ปุ๋ยเคมีอัตราตามค่าวิเคราะห์ดินจากโปรแกรมปุ๋ยรายแปลง ร่วมกับปุ๋ยพืชสด
                   และน้ าหมักชีวภาพ ให้ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจเพิ่มขึ้นถึง 28.38 เปอร์เซ็นต์ ส่วนต ารับที่ 3 ปุ๋ยอินทรีย์

                   คุณภาพสูงอัตราตามค าแนะน า  ร่วมกับปุ๋ยพืชสดและน้ าหมักชีวภาพ ให้ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ
                   รองลงมา 26.38 เปอร์เซ็นต์ ทั้งนี้ต ารับที่ 3 ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงอัตราตามค าแนะน า ร่วมกับปุ๋ยพืชสด
                   และน้ าหมักชีวภาพ มีค่าใช้จ่ายจากปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงในราคาที่ค่อนข้างสูง      จะเหมาะสมกับการ
                   รวมกลุ่มขายผลผลิตเป็นข้าวสารอินทรีย์เพราะจะให้ราคาต่อกิโลกรัมสูงถึงราคากิโลกรัมละ 50-60 บาท
                   และถ้าวางขายในห้างสรรพสินค้าจัดท าเป็นแพ็คเก็ต ก็จะมีราคาสูงถึงกิโลกรัมละ 110-120  บาท ซึ่ง

                   สอดคล้องกับรายงานการทดลองของสุวรรณภา และคณะ (2556) ศึกษาการจัดการดินด้วยปุ๋ยอินทรีย์
                   คุณภาพสูงสูตรกรมพัฒนาที่ดินตามโปรแกรมค าแนะน าการจัดการดิน และปุ๋ยรายแปลงเพื่อการผลิตข้าว
                   ขาวดอกมะลิ 105 อย่างยั่งยืน ในกลุ่มชุดดินที่ 17 ชุดดินเรณู พบว่าการใช้ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงเพียง

                   อย่างเดียวมีต้นทุนผันแปรสูง ท าให้ผลตอบแทนน้อยกว่าการใช้ปุ๋ยเคมีร่วมกับปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงอย่าง
                   ละครึ่งอัตรา ส่วนต ารับที่ 4 ปุ๋ยชีวภาพ พด.12 ร่วมกับปุ๋ยเคมีอัตราครึ่งหนึ่งของค าแนะน าตามค่าวิเคราะห์
                   ดินจากโปรแกรมปุ๋ยรายแปลง ร่วมกับปุ๋ยพืชสดและน้ าหมักชีวภาพ ซึ่งให้ผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่สูงกว่าต ารับที่
                   1  วิธีเกษตรกรถึง 22.60  เปอร์เซ็นต์ แต่ให้ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจน้อยที่สุด ลดลงจากต ารับที่ 1  วิธี

                   เกษตรกร เท่ากับ 27.25  เปอร์เซ็นต์ (ภาพที่ 15  ตารางผนวกที่ 21) เนื่องจากมีต้นทุนค่าใช้จ่ายจากปุ๋ย
                   ชีวภาพ พด.12  จึงท าให้ต้นทุนสูง  และยังสอดคล้องกับ นิภาพร และคณะ (2554)  พบว่า การใช้ปุ๋ยเคมี
                   หนึ่งในสามของค าแนะน าร่วมกับน้ าหมักชีวภาพซุปเปอร์ พด.2 ร่วมกับปุ๋ยพืชสด ให้ผลผลิตพันธุ์เล็บนก
                   ปัตตานี  เท่ากับ 513.89  กิโลกรัมต่อไร่ และยังให้ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจก าไรสุทธิเฉลี่ยสูงสุด เท่ากับ

                   2,678.50 บาทต่อไร่  จะเห็นได้ว่าต้นทุนผันแปรของต ารับที่ 3  ที่ใช้ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงอัตราตาม
                   ค าแนะน า  จะมีต้นทุนผันแปรสูงกว่าต ารับอื่นๆ และต้นทุนผันแปรในแต่ละปีก็แตกต่างกัน เนื่องจาก
                   ปริมาณปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงที่ใส่ลงไปได้จากการค านวณปริมาณธาตุอาหารโดยยึดธาตุไนโตรเจนเป็น
                   หลัก  ถ้าผลิตปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงให้ได้ธาตุไนโตรเจนสูง ปริมาณปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงที่ใส่ลงไปก็จะใช้

                   ในปริมาณน้อยกว่าปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงที่ผลิตได้ธาตุไนโตรเจนต่ า
   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59