Page 46 - การเปรียบเทียบชนิดปุ๋ยที่เหมาะสมต่อการปลูกข้าวสังข์หยดในกลุ่มชุดดินที่ 6 จังหวัดพัทลุง
P. 46
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
33
เฉลี่ย 14 เปอร์เซ็นต์ไม่มีความแตกต่างทางสถิติทั้ง 4 ต ารับการทดลอง แต่ต ารับที่ 1 วิธีเกษตรกร ยังให้
ผลผลิตน้อยกว่าต ารับอื่นๆ เมื่อพิจารณาผลผลิตข้าวที่ความชื้น 14 เปอร์เซ็นต์เฉลี่ยทั้ง 3 ปี พบว่า ต ารับที่
3 ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงอัตราตามค าแนะน า ร่วมกับปุ๋ยพืชสดและน้ าหมักชีวภาพ ให้ผลผลิตข้าวสูงสุด เท่ากับ
529.33 กิโลกรัมต่อไร่ ส่วนต ารับที่ให้ผลผลิตข้าวเฉลี่ย 3 ปี ต่ าสุด คือต ารับที่ 1 วิธีเกษตรกร อาจเป็น
เพราะว่าในต ารับที่ 1 วิธีเกษตรกร ซึ่งใส่ปุ๋ยเคมีสูตร 16-20-0 อัตรา 20 กิโลกรัมต่อไร่ และใส่ปุ๋ยเคมีสูตร
46-0-0 อัตรา 10 กิโลกรัมต่อไร่ เมื่อค านวณเป็นปริมาณธาตุอาหารแล้วเท่ากับ 8 กิโลกรัมไนโตรเจนต่อไร่
4 กิโลกรัมฟอสฟอรัสต่อไร่ (8-4-0) ในขณะที่ต ารับที่ 2 ปุ๋ยเคมีอัตราตามค่าวิเคราะห์ดินจากโปรแกรมปุ๋ย
รายแปลง ใส่ปุ๋ยเคมีสูตร 16-20-0 อัตรา 10 กิโลกรัมต่อไร่ ร่วมกับปุ๋ยเคมี สูตร 46-0-0 อัตรา 10 กิโลกรัม
ต่อไร่ ร่วมกับ ปุ๋ยเคมีสูตร 0-0-60 อัตรา 7 กิโลกรัมต่อไร่ เมื่อค านวณเป็นปริมาณธาตุอาหารแล้วเท่ากับ 6
กิโลกรัมไนโตรเจนต่อไร่ 2 กิโลกรัมฟอสฟอรัสต่อไร่ และ 4 กิโลกรัมโพแทสเซียมต่อไร่ (6-2-4) และต ารับ
ที่ 4 ปุ๋ยเคมีอัตราครึ่งหนึ่งของค าแนะน าตามค่าวิเคราะห์ดินจากโปรแกรมปุ๋ยรายแปลง ใส่ปุ๋ยเคมีสูตร
16-20-0 อัตรา 5 กิโลกรัมต่อไร่ ร่วมกับปุ๋ยเคมี สูตร 46-0-0 อัตรา 5 กิโลกรัมต่อไร่ ร่วมกับ ปุ๋ยเคมีสูตร
0-0-60 อัตรา 3.5 กิโลกรัมต่อไร่ เมื่อค านวณเป็นปริมาณธาตุอาหารแล้วเท่ากับ 3 กิโลกรัมไนโตรเจนต่อไร่
1 กิโลกรัมฟอสฟอรัสต่อไร่ และ 2 กิโลกรัมโพแทสเซียมต่อไร่ (3-1-2) จะเห็นได้ว่าแม้ว่าต ารับที่ 1 วิธีเกษตรกร
มีปริมาณธาตุไนโตรเจนและฟอสฟอรัสมากกว่าต ารับที่ 4 แต่ยังให้ผลผลิตข้าวเฉลี่ยน้อยกว่าอาจเป็นเพราะว่า
ในวิธีเกษตรกรไม่ได้ใส่ธาตุอาหารโพแทสเซียมและไม่ได้มีการเพิ่มอินทรียวัตถุให้กับดิน จึงท าให้ได้ผลผลิต
ข้าวน้อยกว่า ในขณะที่ต ารับที่ 4 ก็มีการปรับปรุงบ ารุงดินด้วยปุ๋ยชีวภาพ พด.12 ร่วมกับปุ๋ยพืชสดและน้ า
หมักชีวภาพด้วย จึงท าให้ได้ผลผลิตสูงกว่าต ารับที่ 1 เมื่อน าผลผลิตข้าวเฉลี่ย 3 ปี มาเปรียบเทียบกับต ารับที่
1 วิธีเกษตรกร พบว่าต ารับที่ 3 ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงอัตราตามค าแนะน า ร่วมกับปุ๋ยพืชสดและน้ าหมัก
ชีวภาพให้ผลผลิตข้าวเฉลี่ย 3 ปี สูงกว่าต ารับที่ 1 วิธีเกษตรกร 31.29 เปอร์เซ็นต์ รองลงมาคือ ต ารับที่ 2
ปุ๋ยเคมีอัตราตามค่าวิเคราะห์ดินจากโปรแกรมปุ๋ยรายแปลง ร่วมกับปุ๋ยพืชสดและน้ าหมักชีวภาพ และ
ต ารับที่ 4 ปุ๋ยชีวภาพ พด.12 ปุ๋ยเคมีอัตราครึ่งหนึ่งของค าแนะน าตามค่าวิเคราะห์ดินจากโปรแกรมปุ๋ยราย
แปลง ปุ๋ยพืชสดและน้ าหมักชีวภาพ (28.00 และ 22.60 เปอร์เซ็นต์ ตามล าดับ) อาจเป็นเพราะว่า ในต ารับที่ 3
ใส่ปริมาณปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงที่มีปริมาณธาตุอาหาร เท่ากับ 6 กิโลกรัมไนโตรเจนต่อไร่ ตามค าแนะน า
จากผลวิเคราะห์ดินจากโปรแกรมปุ๋ยรายแปลง และมาค านวณเป็นปริมาณปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงที่ต้องใส่
ลงไปในปีที่ 1, 2 และ 3 เท่ากับ 322, 215 และ 248 กิโลกรัมต่อไร่ ตามล าดับ จึงท าให้ได้ผลผลิตข้าว
เฉลี่ย 3 ปีสูงสุด (ภาพที่ 14 ตารางผนวกที่ 20) และสอดคล้องกับการทดลองของส านักงานพัฒนาที่ดิน
เขต 11 (2557) รายงานว่าใส่ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงตามค่าวิเคราะห์ดินท าให้ได้ผลผลิตข้าวหอมไชยา
ในชุดดินไชยา เท่ากับ 561 กิโลกรัมต่อไร และยังสอดคล้องกับผลการทดลองของทวีศักดิ์ (2551)
รายงานว่าการใช้ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงอัตรา 300 กิโลกรัมต่อไร่ ร่วมกับการไถกลบตอซังร่วมกับปุ๋ยพืชสด
(ปอเทือง) สามารถเพิ่มผลผลิตข้าวพันธุ์สังข์หยดได้สูงสุด 384.8 กิโลกรัมต่อไร่ และผลการทดลองของอุษา
และคณะ (2552) รายงานผลการศึกษาโครงการสาธิตทดสอบการผลิตข้าวอินทรีย์โดยใช้ปุ๋ยอินทรีย์
คุณภาพสูงสูตรกรมพัฒนาที่ดิน โดยใช้ข้าวพันธุ์ชัยนาท 1 ใน กลุ่มชุดดินที่ 6 ชุดดินพัทลุง พบว่าการใช้