Page 60 - ปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับการจัดทำระบบอนุรักษ์ดินและน้ำบนพื้นที่ลุ่ม-ดอน เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองหล่อยูง-คลองในหยง ของเกษตรกรตำบลหล่อยูง อำเภอตะกั่วทุ่ง จังหวัดพังงา
P. 60

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       45







                       4.การยอมรับการจัดท าระบบอนุรักษ์ดินและน้ าบนพื้นที่ลุ่ม-ดอนเขตพัฒนาที่ดิน
                              การยอมรับการจัดท้าระบบอนุรักษ์ดินและน้้าบนพื้นที่ลุ่ม-ดอนเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้้าคลอง
                       หล่อยูง-คลองในหยง พบว่า การใช้ทางล้าเลียงในไร่นา เพื่อขนส่งผลผลิตจากภาคการเกษตร พบว่า
                       เกษตรกรใช้ทางล้าเลียงในไร่นา เพื่อขนส่งผลผลิตจากภาคการเกษตรบ้าง มากที่สุด ร้อยละ 66.95

                       รองลงมา คือ ใช้สม่้าเสมอ ร้อยละ 25.42 และไม่เคยใช้ น้อยที่สุด ร้อยละ 7.63เกษตรกรไม่เผาเศษ
                       พืช หรือซากพืช ที่มีอยู่ในพื้นที่ท้าการเกษตร ร้อยละ 51.69 และมีการเผาเศษพืช หรือซากพืชที่มีอยู่
                       ในพื้นที่ท้าการเกษตร ร้อยละ 48.31  เกษตรกรส่วนใหญ่ไม่มีการเพิ่มการไถพรวนดิน ในพื้นที่ท้า
                       การเกษตร ร้อยละ 94.07  และมีการเพิ่มการไถพรวนดินในพื้นที่ท้าการเกษตร ร้อยละ 5.93

                       เกษตรกรมีการปลูกพืชตามแนวระดับขวางความลาดเทในพื้นที่ท้าการเกษตร ร้อยละ 68.64และไม่มี
                       การปลูกพืชตามแนวระดับขวางความลาดเทในพื้นที่ท้าการเกษตร ร้อยละ 31.36  เกษตรกรมีการใช้
                       เศษพืชเป็นวัสดุคลุมดิน ในระยะที่พืชยังไม่งอก หรือขณะต้นพืชยังเล็กอยู่ร้อยละ 84.75 และไม่มีการ
                       ใช้เศษพืชเป็นวัสดุคลุมดิน ในระยะที่พืชยังไม่งอก หรือขณะต้นพืชยังเล็กอยู่ ร้อยละ 15.25เกษตรกร

                       ส่วนใหญ่มีการปลูกหญ้าแฝก (กล้ารากเปลือย) เป็นแถวตามแนวระดับขวางความลาดเท โดยการท้า
                       แนวร่องปลูกตามแนวระดับ ใช้ระยะระหว่างต้น 5 เซนติเมตร ร้อยละ 52.54 และไม่มีการปลูกหญ้า
                       แฝก(กล้ารากเปลือย) เป็นแถวตามแนวระดับขวางความลาดเท โดยการท้าแนวร่องปลูกตามแนว

                       ระดับใช้ระยะระหว่างต้น 5  เซนติเมตร ร้อยละ 47.46เกษตรกรไม่ตัดแต่งใบหญ้าแฝก และไม่น้าใบ
                       หญ้าแฝกที่ตัดได้ไปคลุมดินบริเวณรอบโคนต้นไม้ ร้อยละ 62.71  เกษตรกร ไม่มีการปลูกพืชคลุมดิน
                       เพื่อการอนุรักษ์ดินและน้้า ร้อยละ 61.86 เกษตรกรส่วนใหญ่มีการใช้ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก หรือปุ๋ยพืชสด
                       ในพื้นที่ท้าการเกษตร ร้อยละ 68.64  หลักจากเจ้าหน้าที่พัฒนาที่ดินประชาสัมพันธ์การด้าเนิน
                       โครงการจัดท้าระบบอนุรักษ์ดินและน้้าบนพื้นที่ลุ่ม-ดอน ใช้ระยะเวลานานเท่าไหร่ในการเข้าร่วม

                       โครงการ พบว่า เกษตรกรเข้าร่วมทันที หลังมีการประชาสัมพันธ์มากที่สุด ร้อยละ 38.14  รองลงมา
                       คือ ภายใน 1 เดือน หลังมีการประชาสัมพันธ์ ร้อยละ 23.73  และภายใน 1 สัปดาห์ หลังมีการ
                       ประชาสัมพันธ์น้อยที่สุดร้อยละ 5.08หากมีการด้าเนินโครงการจัดท้าระบบอนุรักษ์ดินและน้้าบนพื้นที่

                       ลุ่ม-ดอนในพื้นที่อีก ท่านจะเข้าร่วมอีกหรือไม่พบว่า เกษตรกรเข้าร่วมแน่นอนและไม่เข้าร่วม ร้อยละ
                       87.29 และไม่แน่ใจ ร้อยละ 12.71เกษตรกรมีความรู้เกี่ยวกับโครงการจัดท้าระบบอนุรักษ์ดินและน้้า
                       บนพื้นที่ลุ่ม-ดอน หลังจากเจ้าหน้าที่กรมพัฒนาที่ดินเข้ามาด้าเนินการ พบว่า เกษตรกรมีความรู้
                       เล็กน้อยมากที่สุด ร้อยละ 35.59 รองลงมา คือ ไม่มีความรู้เลย ร้อยละ 32.20 และมีความรู้เป็นอย่าง

                       ดีเยี่ยม และสามารถแนะน้าผู้อื่นได้ น้อยที่สุด ร้อยละ 2.54และหลังการด้าเนินก่อสร้างจัดระบบ
                       อนุรักษ์ดินและน้้าในพื้นที่ เกษตรกรส่วนใหญ่ได้ขอรับกล้าหญ้าแฝก เพื่อไปปลูกในพื้นที่ท้าการเกษตร
                       ร้อยละ 70.34  นอกจากนี้ เกษตรกรส่วนใหญ่เคยแนะน้าและประชาสัมพันธ์การเข้าร่วมโครงการ
                       จัดท้าระบบการอนุรักษ์ดินและน้้าบนพื้นที่ลุ่ม-ดอน แก่เกษตรกรรายอื่น ร้อยละ 70.34 (ตารางที่ 18)
   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65