Page 44 - ปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับการจัดทำระบบอนุรักษ์ดินและน้ำบนพื้นที่ลุ่ม-ดอน เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองหล่อยูง-คลองในหยง ของเกษตรกรตำบลหล่อยูง อำเภอตะกั่วทุ่ง จังหวัดพังงา
P. 44

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       37







                       3.  ปัจจัยด้านจิตวิทยาของเกษตรกรที่อยู่ในพื้นที่จัดท าระบบอนุรักษ์ดินและน้ าบนพื้นที่ลุ่ม-ดอน
                       เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ าคลองหล่อยูง-คลองในหยง
                              3.1 ทัศนคติที่มีต่อการจัดท าระบบอนุรักษ์ดินและน้ าบนพื้นที่ลุ่ม-ดอนเขตพัฒนาที่ดิน

                              ทัศนคติที่มีต่อการจะท้าระบบอนุรักษ์ดินและน้้าบนพื้นที่ลุ่ม-ดอน เขตพัฒนาที่ดินพบว่า
                       เกษตรกรมีทัศนคติที่มีต่อการจะท้าระบบอนุรักษ์ดินและน้้าบนพื้นที่ลุ่ม-ดอน เขตพัฒนาที่ดิน โดยรวม

                       อยู่ในระดับไม่แน่ใจ (ค่าเฉลี่ย 2.68)
                              เกษตรกรมีทัศนคติที่มีต่อการจะท้าระบบอนุรักษ์ดินและน้้าบนพื้นที่ลุ่ม-ดอน เขตพัฒนาที่ดิน

                       อยู่ในระดับเห็นด้วยอย่างยิ่ง คือ การก่อสร้างอาคารชะลอความเร็วน้้าสามารถลดกระแสน้้าไหลแรงได้

                       (ค่าเฉลี่ย 4.43) มากที่สุด รองลงมา คือ การจัดการท้าโครงการระบบอนุรักษ์ดินและน้้าบนพื้นที่ลุ่ม-
                       ดอน ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการท้าการเกษตรของท่านได้ (ค่าเฉลี่ย 4.42) การปลูกพืชคลุมดิน เช่น

                       ปอเทือง ถั่วพร้า สามารถรักษาความชุ่มชื้นในดินในฤดูแล้งได้(ค่าเฉลี่ย 4.37)อาคารชะลอความเร็วน้้า

                       สามารถลดการชะล้างพังทลาย แบบร่องลึกในทางระบายน้้าได้ (ค่าเฉลี่ย 4.36) และการก่อสร้างป้าย
                       โครงการ (มาตรฐาน) สามารถประชาสัมพันธ์ให้เกษตรกรทราบถึงการด้าเนินงานจัดระบบอนุรักษ์ดิน

                       และน้้าบนพื้นที่ลุ่ม-ดอน (ค่าเฉลี่ย 4.26)ตามล้าดับ
                              เกษตรกรมีทัศนคติที่มีต่อการจะท้าระบบอนุรักษ์ดินและน้้าบนพื้นที่ลุ่ม-ดอนเขตพัฒนาที่ดิน

                       อยู่ในระดับไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง คือ ท่อระบายน้้าที่ก่อสร้าง ไม่สามารถระบายน้้าในพื้นที่ (ค่าเฉลี่ย
                       1.75) มากที่สุด รองลงมา คือ ท่านไม่สามารถใช้ทางล้าเลียงในไร่นา เพื่อล้าเลียงผลผลิตทางการ

                       เกษตรของท่านสู่ตลาด (ค่าเฉลี่ย 1.67) การก่อสร้างคันดินแบบ 5  ไม่สามารถเบนน้้าไหลบ่าออกไป

                       จากพื้นที่ (ค่าเฉลี่ย 1.65) การก่อสร้างคันดินแบบ 5 ไม่สามารถป้องกันการชะล้างพังทลายของดิน
                       (ค่าเฉลี่ย 1.64) การก่อสร้างปรับรูปแปลงนาลักษณะที่ 3 ไม่สามารถระบายน้้าในพื้นที่ราบลุ่ม

                       (ค่าเฉลี่ย 1.64) การก่อสร้างปรับรูปแปลงนาลักษณะที่ 3 ไม่สามารถกักเก็บน้้าไว้ใช้ได้ (ค่าเฉลี่ย 1.58)

                       บนคันดินที่ก่อสร้างปรับรูปแปลงนาลักษณะที่ 3 ไม่สามารถปลูกพืชเศรษฐกิจ (ค่าเฉลี่ย 1.57) และ
                       การปลูกหญ้าแฝก ไม่สามารถลดการชะลายพังทลายของหน้าดินในฤดูฝน (ค่าเฉลี่ย 1.49) ตามล้าดับ

                       (ตารางที่ 16)
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49