Page 8 - การปรับปรุงบำรุงดินนาข้าวในศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการพัฒนาที่ดิน ตำบลหนองกรด อำเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์
P. 8

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                         1







                                                              บทที่ 1

                                                             บทน า


                       1.1 หลักการและเหตุผล
                              ข้าวเป็นพืชเศรษฐกิจที่ส าคัญของประเทศไทย โดยที่ข้าวเป็นสินค้าออกส าคัญที่ท ารายได้เข้า

                       ประเทศเป็นมูลค่ามาก จากการส ารวจพื้นที่ปลูกข้าวในปีเพาะปลูก 2559/60 พบว่า ประเทศไทยมี
                       พื้นที่ปลูกข้าวประมาณ 56.30 ล้านไร่ (กรมการข้าว, 2559) และการส่งออกข้าวในปี 2559 มีปริมาณ

                       9,883,289 ตัน มูลค่า 154,434 ล้านบาท  (สมาคมผู้ส่งออกข้าวไทย, 2559)

                              ปัจจุบันเกษตรกรผู้ท านาส่วนใหญ่ประสบกับปัญหาหลายด้าน เช่น ต้นทุนการผลิตสูง ราคา
                       ผลผลิตตกต่ า และโรคแมลงระบาด ซึ่งเกิดจากการใช้พื้นที่ท าการเกษตรติดต่อกันเป็นเวลานานและมีการใช้

                       ปุ๋ยเคมีอย่างต่อเนื่อง โดยไม่มีการเพิ่มอินทรียวัตถุให้แก่ดิน ก่อให้เกิดปัญหาดินเสื่อมโทรมตามมา จึง
                       จ าเป็นต้องมีการปรับปรุงบ ารุงดิน กรมพัฒนาที่ดินจึงมีแนวนโยบายในการส่งเสริมให้เกษตรกรใช้ปุ๋ย

                       อินทรีย์ร่วมกับปุ๋ยเคมีเพื่อปรับปรุงบ ารุงดิน เพิ่มความอุดมสมบูรณ์ เพิ่มผลผลิต และลดต้นทุนการ

                       ผลิต จากการใช้สารเคมีได้อีกทางหนึ่ง และขณะเดียวกันกรมพัฒนาที่ดินมีนโยบายให้ทุกอ าเภอได้
                       จัดท าศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการพัฒนาที่ดินประจ าอ าเภอขึ้น เพื่อใช้เป็นจุดเผยแพร่ประชาสัมพันธ์

                       ถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านการพัฒนาที่ดินที่เหมาะสมให้แก่เกษตรกรในพื้นที่อย่างทั่วถึง
                              อ าเภอเมืองนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์ มีพื้นที่ทั้งหมด 748.27  ตารางกิโลเมตร  หรือ

                       ประมาณ  467,669 ไร่ สมรรถภาพของดิน  พื้นที่ส่วนใหญ่มีลักษณะเป็นที่ราบลุ่มถึงราบเรียบ  ดินมี

                       การระบายน้ าเลวถึงค่อนข้างเลว ในช่วงฤดูฝนมีน้ าขังที่ผิวดินเป็นระยะเวลา 4-5 เดือน เนื้อดินเป็นดิน
                       เหนียวเก็บกักน้ าได้ดี  จึงเหมาะสมที่จะใช้ในการท านามากกว่าปลูกพืชอย่างอื่น  อย่างไรก็ตามหลัง

                       การเก็บเกี่ยวข้าว หรือในช่วงฤดูแล้ง  สามารถใช้ประโยชน์ที่ดินในการปลูกพืชไร่หรือพืชผักที่มีอายุสั้น
                       ได้เป็นอย่างดี  เนื่องจากดินมีความชื้นพอที่จะปลูกได้ สภาพการใช้ที่ดินในการเกษตรของเกษตรกร

                       พื้นที่ดินส่วนใหญ่ประมาณร้อยละ 70 ของเนื้อที่ทั้งหมดของอ าเภอเมือง ถูกใช้ในการเกษตรโดยถูกใช้

                       ส าหรับการเพาะปลูกพืชโดยเฉพาะปลูกข้าวเป็นพืชหลัก เป็นการท าการเกษตรที่มีการใช้ปุ๋ยเคมีเป็น
                       จ านวนมากเพื่อเพิ่มธาตุอาหารให้กับดินในการเร่งอัตราการเจริญเติบโตของพืช การใช้สารเคมีควบคุม

                       และก าจัดศัตรูพืช ก่อให้เกิดสารปนเปื้อนอยู่ในบริเวณทั่วไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งสารเคมีส่วนใหญ่จะ
                       สลายตัวค่อนข้างช้าและคงสภาพอยู่ในสภาพแวดล้อมเป็นระยะเวลายาวนาน อีกทั้งเกษตรกรมีการใช้

                       พื้นที่ทางการเกษตรติดต่อกันเป็นเวลานานใช้ปุ๋ยเคมีอย่างเดียว โดยไม่มีการเพิ่มอินทรียวัตถุเพื่อ

                       ปรับปรุงบ ารุงดิน  จึงก่อให้เกิดปัญหาดินเสื่อมโทรม  ขาดความอุดมสมบูรณ์ ผลผลิตตกต่ า
                              ต าบลหนองกรด อ าเภอเมืองนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์ เกษตรกรในพื้นที่ส่วนใหญ่มี

                       อาชีพท าการเกษตรเป็นหลัก โดยเฉพาะการท านา ซึ่งถือว่าเป็นอาชีพที่เกษตรกรได้ท ามาตั้งแต่สมัย
                       บรรพบุรุษที่ได้ปฏิบัติสืบทอดกันมาเป็นเวลานาน ซึ่งปัจจุบันผลผลิตข้าวของเกษตรกรใน
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13